Page 46 - FoodFocusThailand No.165 December 2019
P. 46

STRATEGIC R&D

            ข้อมูลจาก Reports And Data ระบุว่า ภาวการณ์เกิดโรคเจ็บป่วย อาหารทางการแพทย์…มีประโยชน์อย่างไร?
            และโรคที่เกิดจากภาวะโภชนาการไม่สมดุล ตลอดจนการพัฒนาของ      1. เป็นอาหารหลักแทนอาหารแต่ละมื้อส�าหรับผู้ที่กินอาหารไม่ได้
            เทคโนโลยีในการผลิต การมีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ออกสู่ตลาด ล้วนเป็น  ตามปกติ เช่น ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ผู้ที่ร่างกายไม่สามารถย่อยและ
            ปัจจัยที่ส่งผลให้ตลาดของอาหารทางการแพทย์ (Medical food)   ดูดซึมสารอาหารหรือเกลือแร่บางชนิด เช่น ผู้ป่วยเบาหวานซึ่งต้องการ
            เติบโตขึ้นอย่างมาก                                       อาหารที่มีค่าดัชนีน�้าตาลต�่า ผู้ป่วยไตวายที่ต้องจ�ากัดปริมาณโซเดียมและ
                                                                     โปแตสเซียม ผู้ที่สูญเสียกล้ามเนื้อซึ่งต้องการอาหารที่มีโปรตีนสูง หรือ
                                                                     อาหารส�าหรับเด็กที่แพ้โปรตีนจากนมวัวและนมถั่วเหลือง เป็นต้น
            อาหารทางการแพทย์…คืออะไร?
                                                                        2. เป็นอาหารเสริมเพื่อเพิ่มพลังงานให้กับผู้ที่กินอาหารเองได้ แต่มี
            อาหารทางการแพทย์เป็นอาหารที่มีสูตรพิเศษส�าหรับความเจ็บป่วยที่เฉพาะ เช่น            ปริมาณและพลังงานไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย เช่น
            มีอาการแพ้ ระบบทางเดินอาหารมีปัญหา หรือมีอาการเจ็บป่วยเรื้อรังต่างๆ เพื่อช่วย
            ให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสมต่อโรค เช่น อาหารส�าเร็จรูปที่ให้  ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยหลังผ่าตัด ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบ�าบัด
                                                                     ซึ่งอาจมีอาการข้างเคียง เช่น เบื่ออาหาร
            ทางสายอาหาร อาหารที่รับประทานเสริมเพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของ
                                                                        3. สารอาหารส่วนใหญ่ที่มีในอาหารทางการแพทย์จะถูกดัดแปลงให้
            ร่างกายและสภาวะของโรค การใช้อาหารทางการแพทย์จะเป็นความสมัครใจและ  ย่อยง่ายหรือผ่านการย่อยแล้วบางส่วน เพื่อให้ดูดซึมได้ง่ายขึ้น ร่างกาย
            จ�าเป็นต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์เท่านั้น อย่างไรก็ตาม อาหารทางการแพทย์
            ไม่ได้มีจุดประสงค์ในการรักษาโรค แต่ช่วยป้องกันปัญหาที่เกิดจากโรคหรือช่วย  สามารถน�าไปใช้ได้อย่างรวดเร็ว
            จัดการเกี่ยวกับโรคได้ง่ายขึ้น ทั้งนี้ มูลค่าตลาดอาหารทางการแพทย์ในปี 2561 อยู่ที่
            17.27 พันล้านเหรียญสหรัฐ และคาดว่าจะแตะยอด 29.54 พันล้านเหรียญสหรัฐ   อาหารทางการแพทย์…น่าสนใจหรือไม่?
                                                                     การวิจัยเกี่ยวกับอาหารทางการแพทย์ยังคงมีข้อจ�ากัดทั้งในเรื่องคุณสมบัติ
            ภายในปี 2569 คิดเป็นอัตราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 6.9 ต่อปี
                                                                     ทางการแพทย์ของอาหาร ลักษณะทางกายภาพ ความคงตัว ความน่ารับ-
                                                                     ประทาน และปัจจัยอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาทางคลินิก
            อาหารทางการแพทย์…มีอะไรบ้าง?
            กลุ่มเป้าหมายของการพัฒนาอาหารทางการแพทย์ คือ กลุ่มประชากรที่เป็นโรคและ  อย่างไรก็ตาม ตลาดของอาหารทางการแพทย์ในอนาคตนับว่ามีความ
                                                                     ท้าทายและมีแนวโน้มที่ดี  เนื่องจากมีการพัฒนาของเทคโนโลยีในการผลิต
            มีอาการต่างๆ เช่น โรคเกี่ยวกับระบบเผาผลาญ โรคล�าไส้แปรปรวน โรคอัลไซเมอร์
            อาการแพ้แลคโตส อาการแพ้อาหารบางชนิด รวมทั้งผู้สูงอายุที่มีระบบย่อยอาหาร  การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในหลายๆ ประเทศ โดยเฉพาะ
                                                                     ประเทศไทยของเราที่จะเข้าสู่สังคมประชากรสูงวัยแบบสมบูรณ์โดยมี
            และการดูดซึมอาหารเสื่อมไป ในประเทศสหรัฐอเมริกาผลิตภัณฑ์อาหารทางการ-
            แพทย์ส่วนใหญ่พัฒนาขึ้นส�าหรับโรคที่เกี่ยวกับระบบเผาผลาญอาหาร (Metabolic   ประชากรที่อายุมากกว่า 60 ปี เกินร้อยละ 20 ของจ�านวนประชากรทั้งหมด
                                                                     ในปี 2564 นี้
            disease) โดยส่วนผสมหลักที่นิยมใช้ ได้แก่ กรดไขมันโอเมก้า 3 ไอโซฟลาโวน
            วิตามินดี สังกะสี ฟลาโวนอยด์ ไฟโตสเตอรอล เป็นต้น


           The Challenges of Medical Food




                                                              อาหารทางการแพทย์…


                                                                              ความท้าทายในอนาคต


















                                                                                      ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทศพร นามโฮง
                                                                                      อาจารย์พิเศษ
                                                                                      มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

                                                                                      Assistant Professor Tosporn Namhong
                                                                                      Visiting Lecturer
                                                                                      Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi
             46                 DEC   2019C   2019                                    tnamhong@hotmail.com
             46 FOOD FOCUS THAILANDFOOD FOCUS THAILAND
                                DE
         46-47_Strategic R&D_Medical food.indd   46                                                                 19/11/2562 BE   17:29
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51