Page 50 - FoodFocusThailand No.143_February 2018
P. 50

STRATEGIC R&D
                                                                              Yella Hewings-Martin, Ph.D.
                                                                              www.medicalnewstoday.com
                                                                              Translated by: Editorial Team
                                                                                          Food Focus Thailand Magazine
                                                                                          editor@foodfocusthailand.com

                            วิธีดูแลสุขภาพทางเดินอาหาร



                            รับปี 2018





                            ในปีนี้เราจะได้เห็นบทบาทที่ส�าคัญของจุลินทรีย์ในล�าไส้นับล้านล้านเซลล์ที่อาศัยอยู่ภายในร่างกายของเรา
                            เพิ่มมากขึ้น  แต่ก่อนจะไปลงลึกในเรื่องเหล่านั้นจะต้องรู้วิธีในการท�าให้จุลินทรีย์ในร่างกายมีความสุขเสียก่อน
                            เพื่อที่จุลินทรีย์เหล่านั้นจะส่งผลดีต่อร่างกายของเรา และโดยเฉพาะในช่วงวันหยุดที่ใครๆ ก็อยากตามใจปาก





          เมื่อก่อนเรามองเพียงว่าจุลินทรีย์ในล�าไส้จ�านวนมากนั้นเป็นเพียงสิ่งมีชีวิตเล็กๆ
       ที่มาอาศัยอยู่ภายในร่างกายของเรา แต่วันนี้เราอาจจะต้องขอบคุณที่จุลินทรีย์เหล่านั้น
       มีบทบาทอย่างมากต่อการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของร่างกาย ดังนั้นเราจึงจ�าเป็นที่จะ
       ต้องรักษาพาร์ทเนอร์ตัวจิ๋วเหล่านี้ไว้ให้ดี ให้จุลินทรีย์ดีๆ เหล่านี้อยู่ในร่างกายของเรา
       อย่างมีความสุข ไม่เช่นนั้นอาจจะกลายเป็นสร้างผลเสียต่อสุขภาพของเราก็ได้
       เคล็ดลับดูแลสุขภาพทางเดินอาหารให้แข็งแรงส�าหรับช่วงวันหยุด
       Dr. Sven Pettersson ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคเกี่ยวกับระบบการเผาผลาญอาหาร (โรค
       เมทาบอลิก) แห่งส�านักวิชาการแพทย์ Lee Kong Chian School of Medicine
       มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีหนานยาง ประเทศสิงคโปร์ และคณะ อธิบายไว้ในวราสาร
       วิชาการ Cell ว่าจุลินทรีย์ในล�าไส้มีการเปลี่ยนแปลงโดยธรรมชาติตลอดช่วงชีวิตของ  Gunnar C. Hansson ผู้เชี่ยวชาญจากภาควิชาชีวเคมีทางการแพทย์แห่ง
       มนุษย์ โดยจุลินทรีย์กลุ่มเล็กที่เจริญเติบโตอยู่ภายในร่างกายเราได้รับอิทธิพลมาจาก  มหาวิทยาลัยกอเทนเบิร์ก ประเทศสวีเดน อธิบายถึงสาเหตุว่า “เพราะอาหารที่
       ปัจจัยทางด้านการรับประทานอาหาร การใช้ชีวิต ฮอร์โมน และระบบภูมิคุ้มกันของ  หนูไมค์กินเข้าไปนั้นขาดไฟเบอร์ ท�าให้การกินอาหารของแบคทีเรียและสัดส่วน
       ร่างกาย ดังนั้น หากเกิดความไม่สมดุลของจุลินทรีย์ในล�าไส้ก็จะน�าไปสู่การเกิดสภาวะ  ของแบคทีเรียเกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่งก่อให้เกิดการอักเสบที่ผนังล�าไส้และเป็นเหตุ
       เรื้อรังต่างๆ ตามมา เช่น การแพ้อาหาร ผิวหนังอักเสบ โรคหืดหอบ กลุ่มโรคออทิสติก   ให้กลุ่มแบคทีเรียที่เป็นอันตรายบุกรุกเข้ามา จึงเกิดภาวะอักเสบและน�าไปสู่โรค
       โรคอ่อนเพลียเรื้อรัง (โรค CFS) ภาวะล�าไส้แปรปรวน และมะเร็ง ดังนั้น มาดูวิธีที่จะดูแล  ที่เกี่ยวกับระบบการเผาผลาญอาหารที่รุนแรง”
       จุลินทรีย์ในล�าไส้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลาที่เราจะมีแคลอรีเกินๆ อย่างในวันหยุด   • เติมเส้นใยเพื่อย้อนดูการเปลี่ยนแปลง จากการศึกษาเพิ่มเติมโดย
       ดังนี้                                                   Hansson และทีมผู้เชี่ยวชาญค้นพบว่าแบคทีเรียที่มีการใช้ไฟเบอร์เป็นแหล่งอาหาร
          1. อย่าลืมไฟเบอร์ ในขณะที่ไฟเบอร์นั้นไม่อาจถูกย่อยในระบบทางเดินอาหาร  อย่างบิฟิโดแบคทีเรีย (Bifidobacteria) นั้นมีปริมาณลดลง เมื่อให้กินอาหาร
       ของร่างกายได้ แต่กลับเป็นที่ชื่นชอบของจุลินทรีย์ในล�าไส้ที่จะน�ามาใช้เป็นแหล่งอาหาร   แบบตะวันตก แต่เมื่อมีการเติมบิฟิโดแบคทีเรีย หรือเติมอินูลินซึ่งเป็นอาหาร
       ถ้าเราไม่ได้รับไฟเบอร์จากการรับประทานอาหารอย่างเพียงพอ จุลินทรีย์เหล่านั้นก็จะ  เลี้ยงเชื้อสุขภาพ ในบทบาทของใยอาหารจากพืชที่เป็นพรีไบโอติกส์ลงไปในอาหาร
       ไปดึงเมือกที่เซลล์เยื่อบุผิวล�าไส้มาเป็นแหล่งอาหารแทน ซึ่งจะน�าไปสู่การเกิดภาวะ  ทดลองนั้น พบว่าช่วยท�าให้สุขภาพล�าไส้ของหนูไมค์ดีขึ้น
       ล�าไส้ดูดซึมผิดปกติอันเป็นสาเหตุให้ผนังล�าไส้รั่วซึมอย่างรุนแรงนั่นเอง และยังเสี่ยง        ในขณะที่กลุ่มทดลองที่สอง น�าโดย Andrew Gewirtz จากศูนย์วิจัยด้านการ-
       ที่จะเกิดภาวะล�าไส้ใหญ่อักเสบ หรือเกิดการอักเสบของร่างกาย และน�าไปสู่ความ-          อักเสบ ภูมิคุ้มกัน และการติดเชื้อ แห่งมหาวิทยาลัยจอร์เจีย เมืองแอตแลนต้า
       ผิดปกติของไขมันในเลือด ตลอดจนความดันและระดับน�้าตาล ซึ่งล้วนเป็นสภาวะ      พบว่าการเสริมสารอาหารอินูลินสามารถฟื้นฟูสุขภาพล�าไส้และลดปัจจัยเสี่ยงของ
       ความเสี่ยงของโรคทางเมทาบอลิกที่พบร่วมกัน                 การเกิดโรคทางเมทาบอลิกลงได้
          • จะเป็นอย่างไรเมื่อร่างกายขาดไฟเบอร์ มีการรายงายไว้ในวราสารวิชาการ Cell
       Host & Microbe โดยกลุ่มนักวิจัยซึ่งได้กล่าวถึงผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ท�าการทดลองโดยให้  อย่างไรก็ตาม Andrew Gewirtz ก็ยังได้ออกมาเตือนก่อนที่หลายๆ คนจะ
       หนูไมค์กินอาหารแบบตะวันตก ซึ่งเป็นลักษณะอาหารที่มีไฟเบอร์น้อย และแม้จะเป็นช่วง  รีบกักตุนอินูลินไว้เพื่อใช้รับมือกับการปล่อยตัวรับประทานอาหารในช่วงวันหยุด
       เวลาสั้นๆ เพียง 3-7 วัน พบว่าหนูไมค์ที่ได้รับอาหารที่มีปริมาณไฟเบอร์ต�่าแสดงผลของ  ไว้ด้วยว่า
       โรคล�าไส้รั่วซึม และมีน�้าหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างมาก ทั้งยังปรากฎระดับน�้าตาลในเลือดสูง   “อาหารแปรรูปแบบธรรมดาที่แค่เติมไฟเบอร์ลงไปนั้นก็อาจจะเป็นประโยชน์
       และมีความต้านทานต่ออินซูลินสูงมาก นอกจากนี้ยังตรวจพบความผิดปกติของระดับ  ต่อสุขภาพ แต่เราก็ยังไม่อยากแนะน�านัก หากไม่แน่ใจเกี่ยวกับประโยชน์ของ
       จุลินทรีย์ในล�าไส้คือ มีการตายของจุลินทรีย์ที่ดีในล�าไส้จ�านวนมาก แต่กลับมีปริมาณ  อาหารที่กินเข้าไปแล้วว่าจะมีผลดีมากน้อยอย่างไรต่อแบคทีเรียในล�าไส้ และ
       จุลินทรีย์ที่เป็นอันตรายอย่าง Bacteroides และ Actinobacteria เพิ่มมากขึ้นแทน    การท�างานของระบบล�าไส้ของทุกคนก็มีความซับซ้อนไม่เหมือนกัน หรือแทนที่


       50 FOOD FOCUS THAILAND  FEB  2018
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55