Page 41 - FoodFocusThailand No.218 MAY 2024
P. 41
STRATEGIC R & D
Bifidobacterium lactis และ Streptococcus
thermophilus เพ่�อป็้องกันการเกิดืภาวะ
ลำาไส์้เน่า (Necrotizing Enterocolitis; NEC)
ในทารก
วัยผ้�ใหญ่่: โพรไบโอติิกส์์มีป็ระโยช้น์ติ่อ
ส์้ขภาพ ทั�งในดื้านการคุ้วบคุ้้มจ้ลินทรีย์ใน
ลำาไส์้ การส์่งเส์ริมระบบภูมิคุ้้้มกัน ลดืคุ้วาม
เส์ี�ยงของการติิดืเช้่�อในทางเดืินอาหาร
เพิ�มการดืูดืซึมส์ารอาหาร และลดือาการแพ้
แลคุ้โติส์ ซึ�งส์ามารถึใช้้โพรไบโอติิกส์์ในจีนัส์
Lactobacillus และ Bifidobacterium ไดื้
ผ้�ส้งอายุ: คุ้วามช้รามีคุ้วามส์ัมพันธิ์์กับ
การเป็ลี�ยนแป็ลงของจ้ลินทรีย์ทั�งในแง่ของ
คุ้วามหลากหลายและองคุ้์ป็ระกอบของ
ริ้ปท่� 3 กลไกการทำางานของจ้ลินทรีย์โพรไบโอติิกส์์ จ้ลินทรีย์ในลำาไส์้ รวมถึึงภาวะแทรกซ้อนจาก
Figure 3 The mechanism of action of probiotic microorganisms
โรคุ้ป็ระจำาติัวและส์้ขภาวะเฉพาะบ้คุ้คุ้ล
ท่�มา / Source: Anee et al. (2021)
ดืังนั�น การใช้้จ้ลินทรีย์โพรไบโอติิกส์์จึง
• ผลเสริิมฤทธิ์ิ�กััน คุ้่อนข้างมีคุ้วามหลากหลายขึ�นอยู่กับผลลัพธิ์์ที�ติ้องการ เช้่น
การใช้้โพรไบโอติิกส์์ร่วมกับส์ารออกฤทธิ์ิ�ทางช้ีวภาพอ่�นๆ Bifido-bacterium lactis HN019 ช้่วยเส์ริมระบบภูมิคุ้้้มกันและป็รับส์มดื้ล
ที�มีผลเส์ริมฤทธิ์ิ�กัน (Synergistic effects) เพ่�อช้่วยกระติ้้น จ้ลินทรีย์ Lacticaseibacillus rhamnosus GG ช้่วยป็รับระดืับไขมัน
ระบบภูมิคุ้้้มกัน ติัวอย่างเช้่น การบริโภคุ้ผลิติภัณฑ์์เส์ริม
อาหารที�มีโพรไบโอติิกส์์ร่วมกับวิติามินและแร่ธิ์าติ้ เป็็นเวลา
อย่างน้อย 3 เดื่อนในช้่วงฤดืูหนาวและฤดืูใบไม้ผลิ อาจลดื
อ้บัติิการณ์และคุ้วามร้นแรงของการติิดืเช้่�อและไข้หวัดืใน
ผู้ใหญ่่ที�มีส์้ขภาพดืีไดื้ เน่�องจากการกระติ้้นภูมิคุ้้้มกันในระดืับ
เซลล์ รวมถึึงการให้โพรไบโอติิกส์์ร่วมกับพรีไบโอติิกส์์ส์ามารถึ
เพิ�มป็ระส์ิทธิ์ิภาพในการรักษาโรคุ้ป็ลอกป็ระส์าทเส์่�อมแข็ง
(Multiple sclerosis) ซึ�งเป็็นกล้่มโรคุ้ระบบภูมิคุ้้้มกันของ
ร่างกายที�ทำางานผิดืป็กติิ (Autoimmune disorders) เพ่�อช้่วย
คุ้วบคุ้้มการติอบส์นองของระบบภูมิคุ้้้มกันและลดืการอักเส์บ
ซึ�งวิธิ์ีการนี�ให้ป็ระส์ิทธิ์ิภาพใกล้เคุ้ียงกับการบำาบัดืดื้วย
ส์ม้นไพรและส์ารป็ระกอบจากธิ์รรมช้าติิ เช้่น เคุ้อร์คุู้มิน
หญ่้าฝรั�น และเรส์เวอราทรอล เป็็นติ้น
• โพริไบโอติิกัส์ติามช่่วงวัย
ทาริกัแริกัเกัิด: ทารกคุ้ลอดืก่อนกำาหนดืเป็็นกล้่มที�มี
คุ้วามเส์ี�ยงและเป็ราะบางเป็็นพิเศษ เน่�องจากระบบภูมิคุ้้้มกัน
ยังเจริญ่ไม่เติ็มที�และจ้ลินทรีย์ในลำาไส์้ยังพัฒนาไม่ส์มบูรณ์
ดื้วยเหติ้นี� จึงนิยมใช้้โพรไบโอติิกส์์แบบหลายส์ายพันธิ์้์มากกว่า
การใช้้ส์ายพันธิ์้์เดืี�ยว เพ่�อป็้องกันส์ภาวะติ่างๆ ที�อาจเกิดืขึ�น
เช้่น ลำาไส์้อักเส์บและการติิดืเช้่�อ โดืยส์มาคุ้มก้มารเวช้ศาส์ติร์
ระบบทางเดืินอาหาร ติับ และโภช้นาการแห่งย้โรป็
(ESPGHAN) แนะนำาให้ใช้้จ้ลินทรีย์โพรไบโอติิกส์์ Lacticasei-
bacillus rhamnosus GG ร่วมกับ Bifidobacterium infantis,
MAY 2024 FOOD FOCUS THAILAND 41
23/4/2567 BE 17:36
39-44_Strategic R&D_FIN �����.indd 41 23/4/2567 BE 17:36
39-44_Strategic R&D_FIN �����.indd 41