Page 20 - FoodFocusThailand No.145_April 2018
P. 20

SPECIAL TALK BY FIRN
                                                                                มาลี จิรวงศ์ศรี
                                                                                Malee Jirawongsy
                                                                                Expert on Food Standard
             การขอประเมินการกล่าวอ้าง                                           Food and Drug Administration
             ทางสุขภาพ                                                          fdamasy@gmail.com
                                                                                Ministry of Public Health







               พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 ห้ามกล่าวอ้างคุณประโยชน์ คุณภาพ
            หรือสรรพคุณของอาหารอันเป็นเท็จ  หรือเป็นการหลอกลวงให้เกิด
            ความหลงเชื่อโดยไม่สมควร หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษจ�าคุกไม่เกิน 3 ปี หรือ
            ปรับไม่เกิน 3 หมื่นบาท หรือทั้งปรับและจ�า เพื่อเป็นการให้ข้อมูลแก่ผู้บริโภค
            อย่างถูกต้องและอ�านวยความสะดวกกับผู้ประกอบการให้มีแนวปฏิบัติ
            เกี่ยวกับการกล่าวอ้างทางโภชนาการ
               ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้จัดท�าประกาศกระทรวงสาธารณสุข   2. การกล่าวอ้างหน้าที่ของสารอาหารควรจะต้อง (ก) สารอาหารนั้นต้องอยู่ในบัญชี
            ฉบับที่ 182 พ.ศ.2541 เรื่อง ฉลากโภชนาการ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ข้อมูล          สารอาหารที่แนะน�าให้บริโภคประจ�าวันส�าหรับคนไทยอายุตั้งแต่ 6 ปี ขึ้นไป (Thai RDI)
            สารอาหารในผลิตภัณฑ์อาหารที่แสดงปริมาณสารอาหารที่จ�าเป็นต้องกินให้  ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง ฉลากโภชนาการ (ข) สารอาหารนั้นต้องอยู่
            เพียงพอและสารอาหารที่ต้องพึงระมัดระวังอย่ากินเกินความต้องการ นอกจาก  ในระดับที่จัดว่า “เป็นแหล่งของ” หรือ “สูง” ในปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภคที่แสดงบนฉลาก
            ข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารในผลิตภัณฑ์อาหารนั้นๆ แล้ว ผู้บริโภคใช้เป็น  กรณีที่แนะน�าให้บริโภคมากขึ้น หรือ สารอาหารนั้นต้องอยู่ในระดับ “ต�่า” “ลดลง” หรือ
            แนวทางในการเลือกซื้ออาหาร ซึ่งฉลากโภชนาการจะประกอบด้วยกรอบข้อมูล  “ปราศจาก” ในปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภคที่แสดงบนฉลากกรณีที่แนะน�าให้บริโภคแต่น้อย
            โภชนาการ ปริมาณการกิน 1 ครั้งของผลิตภัณฑ์อาหาร เงื่อนไขการกล่าวอ้าง  ตามเกณฑ์ที่ก�าหนดไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง ฉลากโภชนาการ
            ปริมาณของสารอาหารและข้อความกล่าวอ้างเกี่ยวกับสารอาหาร นอกจากนี้  (ค) การกล่าวอ้างหน้าที่ของสารอาหาร ในกรณีที่อาหารนั้นมีปริมาณไขมันทั้งหมดมากกว่า
            ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยายังมีการจัดท�าหลักเกณฑ์การกล่าวอ้าง  13 กรัม หรือไขมันอิ่มตัวมากกว่า 4 กรัม หรือโคเลสเตอรอลมากกว่า 60 มิลลิกรัม หรือโซเดียม
            ทางสุขภาพเพื่อให้ผู้บริโภคได้รับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับอาหารและสุขภาพ   มากกว่า 360 มิลลิกรัม ในปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภคอ้างอิงและปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภค
               ส่วนการกล่าวอ้างทางสุขภาพ (Health claim) เป็นการให้ข้อมูลด้วย              ที่แสดงบนฉลาก หรือหากไม่มีการก�าหนดปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภคอ้างอิงไว้ ให้ค�านวณ
            ข้อความใดๆ บนฉลาก ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร หรือส่วนประกอบของอาหาร หรือ  ปริมาณสารอาหารในปริมาณ 100 กรัม หรือ 100 มิลลิลิตร ต้องก�ากับด้วยข้อความแสดง
            สารอาหาร รวมถึงการแสดงรูป รูปภาพ รอยประดิษฐ์ เครื่องหมาย  ปริมาณไขมันทั้งหมด ไขมันอิ่มตัว โคเลสเตอรอล หรือโซเดียม ที่อยู่ในระดับเกินปริมาณ
            เครื่องหมายการค้า  ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม                                   ดังกล่าว ไว้ติดกับข้อความกล่าวอ้างที่มีขนาดใหญ่หรือเห็นได้ชัดที่สุดบนฉลาก โดยข้อความ
            การกล่าวอ้างทางสุขภาพแบ่งได้ 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. การกล่าวอ้างหน้าที่ของ          ก�ากับนั้นต้องมีขนาดไม่เล็กกว่าครึ่งหนึ่งของข้อความกล่าวอ้าง
            สารอาหาร (Nutrient function claims) 2. การกล่าวอ้างหน้าที่อื่น (Other   3. ไม่อนุญาตการกล่าวอ้างหน้าที่อื่น และการกล่าวอ้างการลดความเสี่ยงของ
            function claims) และ 3. การกล่าวอ้างการลดความเสี่ยงของการเกิดโรค  การเกิดโรค หากอาหารนั้นมีปริมาณไขมันทั้งหมดมากกว่า 13 กรัม หรือไขมันอิ่มตัวมากกว่า
            (Reduction of disease risk claims)                 4 กรัม หรือโคเลสเตอรอลมากกว่า 60 มิลลิกรัม หรือโซเดียมมากกว่า 360 มิลลิกรัม
               หลักเกณฑ์การกล่าวอ้างทางสุขภาพ (Health Claim)   ในปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภคอ้างอิงและปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภคที่แสดงบนฉลาก หรือ
               1. อาหารที่จะกล่าวอ้างทางสุขภาพต้องมีความปลอดภัย และมีคุณภาพ  หากไม่มีการก�าหนดปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภคอ้างอิงไว้ให้ค�านวณปริมาณสารอาหาร
            มาตรฐานเป็นไปตามที่กฎหมายก�าหนด และต้องแสดงฉลากโภชนาการ และ  ในปริมาณ 100 กรัม หรือ 100 มิลลิลิตร
            ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง ฉลากโภชนาการ  4. ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพทั้งที่แสดงบนฉลากอาหารและการโฆษณาต้องแสดง
               2. การกล่าวอ้างทางสุขภาพต้องมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ  เป็นภาษาไทย ตัวอักษรมีขนาดใกล้เคียงกัน อ่านได้ชัดเจน และจะมีข้อความเป็นภาษาอื่น
            สนับสนุนให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณและส่วนประกอบในอาหาร หรือ  ด้วยก็ได้ ทั้งนี้ ต้องมีความหมายท�านองเดียวกันกับภาษาไทย และข้อความดังกล่าว
            สารอาหาร หรืออาหารนั้นๆ มีผลส่งเสริมกับสุขภาพ ซึ่งข้อความกล่าวอ้าง            ต้องไม่ท�าให้เข้าใจว่าการบริโภคอาหารหรือส่วนประกอบของอาหารนั้น สามารถบ�าบัด
            ดังกล่าวต้องผ่านความเห็นชอบจากส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา  บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคได้ รวมทั้งมีการแสดงข้อความตามที่ส�านักงานคณะกรรมการ
               3. ปริมาณของส่วนประกอบของอาหาร หรือสารอาหาร หรืออาหารนั้นๆ  อาหารและยาประกาศก�าหนด หรือได้รับความเห็นชอบจากส�านักงานคณะกรรมการอาหาร
            ที่จะน�ามากล่าวอ้างทางสุขภาพต้องวิเคราะห์ได้ด้วยวิธีที่เป็นที่ยอมรับและเป็น  และยา
            ปัจจุบัน รวมถึงมีการศึกษาความคงตัว (Stability) ของส่วนประกอบของอาหาร   5. ฉลากหรือเอกสารก�ากับอาหารที่มีการกล่าวอ้างทางสุขภาพต้องปฏิบัติตามประกาศ
            หรือสารอาหาร หรืออาหารนั้นๆ ด้วย                   กระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ และต้องแสดง
               เงื่อนไขการแสดงข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ        รายละเอียดดังนี้ด้วย (ก) ปริมาณหรือส่วนประกอบของสารอาหารที่มีการกล่าวอ้าง (ข) กลุ่ม
               1. คุณประโยชน์ที่กล่าวอ้างควรได้มาจากการบริโภคอาหารหรือ                  เป้าหมาย (ถ้ามี) (ค) วิธีการบริโภคอาหารเพื่อให้ได้ประโยชน์ตามที่กล่าวอ้าง (ง) ค�าแนะน�า
            ส่วนประกอบของอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพในปริมาณที่เหมาะสม                  ในการบริโภคอาหารให้กับผู้บริโภคกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ที่ต้องการหลีกเลี่ยงอาหารนี้ (ถ้ามี)
            โดยต้องไม่อาศัยประโยชน์ที่ได้รับจากการบริโภคร่วมกับอาหารอื่นๆ แม้ว่าจะ  (จ) ขนาดรับประทานสูงสุดในระดับที่ปลอดภัย (Maximum safe intake) ของอาหาร หรือ
            เป็นการปฏิบัติตามปกติหรือมีเจตนาให้บริโภคร่วมกัน   ส่วนประกอบของอาหาร (ถ้าจ�าเป็น) และ (ฉ) ข้อความ “ควรกินอาหารให้หลากหลาย

             18  FOOD FOCUS THAILAND  APR  2018


         18-19_Special Talk_Firn.indd   18                                                                           20/3/2561 BE   17:05
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25