Page 64 - 146
P. 64

SAFETY ALERT
       SAFETY ALERT

                 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดสาย ตรีวานิช
                 Assistant Professor Sudsai Trevanich, Ph.D.
                 Department of Food Science and Technology
                 Faculty of Agro-Industry, Kasetsart University
                 fagisstn@ku.ac.th





























      Food Safety Culture


      เพื่อสร้างระบบการจัดการความปลอดภัยอาหาร


      อย่างยั่งยืน






      Chris Griffith นักวิชาการจาก University of Wales Institute   Wallace CA กล่าวว่า “ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤต
      กล่าวว่า  “ทั้งๆ  ที่มีการใช้เงินจ�านวนมหาศาลและการท�างานวิจัย      ที่ต้องควบคุม หรือ HACCP เพียงอย่างเดียวไม่สามารถประกันความ-
      ตลอดเวลากว่า 100 ปี แต่ความปลอดภัยอาหารยังคงเป็นประเด็น   ปลอดภัยอาหารได้ แม้มีการประยุกต์ใช้ระบบดังกล่าวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
      ส�าคัญของโลก” ความปลอดภัยอาหารมีความส�าคัญต่อผู้บริโภค    ยังพบความล้มเหลวเนื่องจากขาดความตระหนักและพันธะสัญญาของ
      และผู้ประกอบการส่วนต่างๆ ตลอดห่วงโซ่การผลิตอาหาร นับตั้งแต่  คนที่เกี่ยวข้อง ความล้มเหลวของความปลอดภัยอาหารหลายครั้งมักเกิด
                                                                จากความล้มเหลวด้านการจัดการ เพราะ HACCP จะประสบผลส�าเร็จได้
      ต้นน�้าจนถึงปลายน�้าของการผลิตอาหาร เกษตรกร ผู้แปรรูปอาหาร                  เมื่อมี Food Safety Culture ที่มีประสิทธิภาพ”
      ผู้ปรุงอาหาร รวมทั้งพนักงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตอาหาร   การปรับปรุงการแสดงออกของการปฏิบัติหรือพฤติกรรมทางความ-
      มีหน้าที่ความรับผิดชอบต่อการผลิตอาหารปลอดภัย เพื่อคุ้มครอง  ปลอดภัยอาหารในโรงงานอาหารหรือสถานประกอบการไม่ว่าขนาดเล็ก
      สุขภาพของผู้บริโภค  การประสบความส�าเร็จในการผลิตอาหาร     มีพนักงานเพียงไม่กี่คน ตลอดจนขนาดใหญ่ที่มีพนักงานนับพันคน

      ปลอดภัยมีหลายปัจจัยเกี่ยวข้อง โดยทั่วไป โปรแกรมทางความ    สิ่งส�าคัญอย่างหนึ่งที่ควรปรับปรุง คือ การปรับเปลี่ยนแนวทางที่พนักงาน
      ปลอดภัยอาหาร เช่น ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้อง  เคยปฏิบัติ หรือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางอย่างที่ไม่เหมาะสมต่อ
      ควบคุม การฝึกอบรมพนักงาน การตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร         การผลิตอาหารปลอดภัย อาจกล่าวได้ว่า ความปลอดภัยอาหารเกิดจาก
                                                                พฤติกรรมหรือการปฏิบัติต่อการผลิตอาหารที่เหมาะสมของพนักงานและ
      หรือการเรียกคืนสินค้า  เป็นต้น  เป็นแนวทางที่ใช้เพื่อประกัน              ผู้เกี่ยวข้อง โรคที่มีอาหารหรือน�้าเป็นพาหะที่เกิดขึ้นกับผู้บริโภคเกิดจาก
      ความปลอดภัยของอาหาร  แต่การด�าเนินการตามโปรแกรม               หลายสาเหตุ ตัวอย่างเช่น
      ความปลอดภัยอาหารดังกล่าว  อาจไม่เพียงพอต่อการประกัน           • การปนเปื้อนจุลินทรีย์บนพื้นผิวอุปกรณ์หรือเครื่องมือสัมผัสอาหาร
      ความปลอดภัยอาหารได้                                       เช่น พนักงานตัดแต่งวัตถุดิบใช้มีดและเขียงเดียวกันในการตัดแต่งทั้ง
                                                                ผักสดกับเนื้อไก่ต้มสุก เพื่อเตรียมสลัดเนื้อไก่พร้อมรับประทาน โดยไม่ได้
                                                                ล้างและฆ่าเชื้อมีดและเขียงก่อนการเปลี่ยนใช้ เป็นต้น


       60 FOOD FOCUS THAILAND  MAY 2018
       60 FOOD FOCUS THAILAND MAY 2018
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69