Page 65 - 146
P. 65
SAFETY ALERT
• สุขลักษณะที่ไม่ดีในระหว่างการผลิตอาหาร ก่อให้เกิดการปนเปื้อนข้าม พนักงานทุกคน โดยเฉพาะพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับสุขภาพและความปลอดภัย
ของจุลินทรีย์สู่อาหาร เช่น พนักงานมีอาการป่วยแต่เข้าปฏิบัติงาน ไม่ใช่เรื่องง่ายที่สามารถด�าเนินการได้อย่างรวดเร็ว มีปัจจัยหลายอย่าง
ในกระบวนการผลิตอาหาร พนักงานในสายการผลิตอาหารไม่เปลี่ยน ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหรือการปฏิบัติของพนักงาน
ถุงมือใหม่ หลังพบว่าถุงมือที่ใช้อยู่สกปรกและเกิดการฉีกขาด หรือพนักงาน เพื่อสร้าง Food Safety Culture ให้เกิดขึ้น ท�าให้เข้มแข็งขึ้น และรักษาให้คงอยู่
ไม่ล้างมือหลังการใช้ ตลอดเวลา อาทิเช่น เจ้าของหรือผู้บริหารสูงสุดของโรงงาน ผู้จัดการ และพนักงาน
ห้องสุขาและก่อน ทุกคน เป็นต้น เจ้าของหรือผู้บริหารสูงสุดของโรงงานอาหารต้องริเริ่มก�าหนดเป็น
เข้าสู่กระบวน- นโยบายหลักและมีพันธะสัญญาในการผลิตอาหารปลอดภัยอย่างชัดเจน
การผลิตอาหาร นอกจากนี้ ต้องมีการถ่ายทอดไปสู่พนักงานทุกคนของโรงงาน และมีการควบคุม
เป็นต้น ติดตามอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการสนับสนุนในการปรับเปลี่ยนให้ดียิ่งขึ้น ผู้จัดการ
หากพิจารณา หรือหัวหน้าสามารถปฏิบัติเป็นตัวอย่างที่ดีตลอดเวลา พนักงานทุกคนจาก
จากตัวอย่างสาเหตุ ทุกฝ่ายต้องเข้าใจ ตระหนัก ศรัทธา และมุ่งมั่น รวมทั้งมีความรับผิดชอบ
ดังกล่าว พบว่าล้วน ในการผลิตอาหารปลอดภัย เป็นต้น
เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับ การประกันความปลอดภัยอาหารของโรงงานอาหารในปัจจุบัน สิ่งส�าคัญ
การปฏิบัติหรือพฤติกรรม ประการหนึ่งที่ต้องค�านึงถึง คือ พนักงานและผู้เกี่ยวข้องในโรงงาน และการปรับ
ของพนักงานที่ไม่เหมาะสม เปลี่ยนพฤติกรรมของคนเหล่านี้ให้มีการปฏิบัติอย่างถูกต้องในการผลิตอาหาร
ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสเสี่ยงต่อ ปลอดภัยตลอดเวลา ดังนั้น การสร้าง Food Safety Culture ในโรงงานอาหาร
ความปลอดภัยอาหาร จึงอาจ อาจต้องประยุกต์ใช้ทั้งองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
กล่าวได้ว่า ความปลอดภัยอาหาร ร่วมกับพฤติกรรมศาสตร์
เกิดจากพฤติกรรมหรือการปฏิบัติ
ของพนักงาน (Food safety =
B e h a v i o r ) ดั ง นั้ น เอกสารอ้างอิง/Reference
ผู้ประกอบการในธุรกิจ Yiannas, F. 2005. Why a food safety program is not enough. Available at: https://
อาหารควรตระหนักถึง www.mpi.govt.nz/dmsdocument/10040-walmart-why-a-food-safety-program-
is-not-enough-frank-yiannas, Date accessed: March 3, 2018.
ความส�าคัญต่อการประกัน
ความปลอดภัยอาหาร
โดยไม่เพียงแต่การประยุกต์ใช้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารเท่านั้น ผู้ประกอบการควรบูรณาการ
องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารกับพฤติกรรมศาสตร์
อย่างเหมาะสม เพื่อสร้างระบบการจัดการความปลอดภัยอาหารบนพื้นฐาน
ของพฤติกรรมที่มุ่งเน้นการจัดการทั้งกระบวนการและคน เพื่อให้เกิด
Food Safety Culture ขึ้นในโรงงานอาหาร เพื่อช่วยในการจัดการ
ความเสี่ยงจากความไม่ปลอดภัยอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Food Safety Culture ในโรงงานอาหาร หมายถึง การที่ทุกคนไม่ว่า
เจ้าของ ผู้จัดการ หรือพนักงาน คิดและปฏิบัติอะไรและอย่างไรต่องานที่ได้
รับมอบหมาย เพื่อประกันได้ว่าอาหารที่ผลิตมีความปลอดภัย และเกิดความ-
ภาคภูมิใจต่อตนเองในการเป็นส่วนร่วมของการผลิตอาหารปลอดภัยใน
ทุกครั้ง ทั้งยังมีความตระหนักถึงคุณภาพอาหารที่ผลิตมีความปลอดภัยต่อ
การบริโภค (Food Standards Australia New Zealand) การมี Food Safety
Culture ที่เข้มแข็งย่อมส่งเสริมให้โรงงานอาหารบรรลุเป้าหมายทางความ-
ปลอดภัยอาหาร ส่งผลต่อความเชื่อมั่นและตอบสนองความพึงพอใจของ
ผู้บริโภค การสร้าง Food Safety Culture ให้เกิดขึ้น พนักงานทุกคนในโรงงาน
อาหารต้องมีส่วนร่วม เข้าใจถึงความส�าคัญของการผลิตอาหารปลอดภัย
และมีพันธะสัญญาในการปฏิบัติเพื่อผลิตอาหารปลอดภัยอยู่ตลอดเวลา
อย่างไรก็ตาม การท�าให้พนักงานเกิดความตระหนักถึงความส�าคัญของ
ความไม่ปลอดภัยอาหารจากการปฏิบัติหรือพฤติกรรมที่เคยชิน เพื่อให้เกิด
การปรับเปลี่ยนไปสู่การปฏิบัติหรือพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อการผลิตอาหาร
ปลอดภัย และพฤติกรรมดังกล่าวยังคงเกิดขึ้นต่อเนื่องอย่างยั่งยืนตลอดเวลา
ไม่ว่าจะมีการตรวจติดตามอยู่หรือไม่ก็ตาม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของ
MAY 2018 FOOD FOCUS THAILAND 61