Page 72 - 147
P. 72
STORAGE, H
STORAGE, HANDLING & LOGISTICSANDLING & LOGISTICS
MarketsandMarkets™
sales@marketsandmarkets.com
หุ่นยนต์ในอุตสาหกรรม
อาหารและเครื่องดื่ม
หุ่นยนต์ในอุตสาหกรรมอาหารเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่เน้น
การพัฒนาเครื่องจักรระบบอัตโนมัติในการจัดการกับงานหนักที่มี
กระบวนการซ�้าๆ ในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
เครื่องจักรเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อน�ามาใช้แทนที่หรือสนับสนุนแรงงานคน ในปี 2560-2565 โดยประเมินกันว่าในปี 2560 มีมูลค่าราว 1,370 ล้าน
ลดเวลาและพลังงาน ตลอดจนลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในกระบวนการ- เหรียญสหรัฐ และจะขยายตัวสูงถึง 2,500 ล้านเหรียญสหรัฐ
ผลิต หุ่นยนต์เหล่านี้สามารถจัดเป็นหมวดหมู่ได้หลายแบบ อาทิ แบ่งแยกตาม ในปี 2565
ลักษณะภายนอกของแขนกล เช่น หุ่นยนต์ที่มีการท�างานของจุดต่อต่างๆ การปรับตัวมาใช้หุ่นยนต์ในอุตสาหกรรมอาหารอาจถือว่าเกิดขึ้นช้า
คล้ายกับการท�างานของมนุษย์ (Articulated) หุ่นยนต์ที่มีพื้นที่การท�างานใน เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่น อย่างไรก็ตาม ประโยชน์ที่เกิดขึ้นในด้าน
ลักษณะเป็นทรงกระบอก (Cylindrical) หุ่นยนต์แบบคู่ขนาน (Parallel robot) ต่างๆ เช่น การลดการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบ การจัดการการเคลื่อนย้าย
หุ่นยนต์แบบสองแขน (Dual arm) หุ่นยนต์ที่มีพื้นที่การท�างานในลักษณะเป็น ที่ท�าให้เกิดประสิทธิภาพในการท�างานดีขึ้น การลดค่าแรงงานคนและ
ทรงกลม (Spherical) หุ่นยนต์ที่มีพื้นที่ในการท�างานในลักษณะลูกบาศก์ ลดความเสี่ยงในการบาดเจ็บของพนักงาน รวมทั้งการลดขั้นตอนของ
(Cartesian) และหุ่นยนต์ที่มีแขนกลที่แกนหมุนขนานกัน 2 แกน หรือ SCARA กระบวนการผลิต ท�าให้ผู้ผลิตและแปรรูปอาหารจ�านวนมากเริ่มใช้
(Selective Compliance Assembly Robot Arm หรือ Selective Compliance กระบวนการอัตโนมัติที่คุ้มค่ากับต้นทุนมากขึ้น โดยกระบวนการที่มักน�า
Articulated Robot Arm) หุ่นยนต์เข้ามาใช้ ได้แก่ การจัดวางและล�าเลียงพาเลท การหยิบและวาง
ตัวแปรต่างๆ เช่น ความเข้มงวดของกฎหมายและระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับ สินค้า การบรรจุและบรรจุใหม่ การแปรรูป รวมทั้งการคัดเกรดและ
อาหารปลอดภัย ความต้องการในกระบวนการบรรจุ (Packaging) และบรรจุใหม่ คัดขนาดสินค้า ผู้ผลิตอาหารหลายรายได้น�าหุ่นยนต์มาใช้และพบว่า
(Re-packaging) ที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งความต้องการเพิ่มประสิทธิผลของการผลิต
ล้วนมีผลขับเคลื่อนความต้องการหุ่นยนต์ในอุตสาหกรรมอาหารให้เพิ่มมากขึ้น
ทั่วโลก กรณีการปนเปื้อนในอาหารจากการสัมผัสของมนุษย์ที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้
ผู้ผลิตจ�านวนมากต้องการใช้หุ่นยนต์ในกระบวนการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
เพิ่มมากขึ้นเช่นกัน ข้อมูลจากศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (Centers for
Disease Control and Prevention; CDC) ระบุว่า ความเจ็บป่วยที่เกิดจาก
อาหารร้อยละ 70 ในสหรัฐอเมริกา เกิดขึ้นจากการแพร่กระจายของเชื้อไวรัส
ผ่านการสัมผัสทั้งโดยตรงและโดยอ้อมของบุคคลและวัตถุที่ติดเชื้อ ดังนั้น
การลดการสัมผัสของมนุษย์ต่ออาหารและเปลี่ยนมาใช้หุ่นยนต์จะสามารถ
ช่วยลดความเสี่ยงจากอาหารปนเปื้อนและความเจ็บป่วยที่เกิดจากอาหาร
ทั้งนี้ ตลาดหุ่นยนต์ในอุตสาหกรรมอาหารมีแนวโน้มขยายตัวสูงถึงร้อยละ 12.8
68 FOOD FOCUS THAILAND JUN 2018