Page 21 - 149
P. 21
SPECIAL TALK BY FDA
ส�ำนักอำหำร
ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา
กระทรวงสาธารณสุข
Bureau of Food
Food and Drug Administration
Ministry of Public Health
food@fda.moph.go.th
กฎระเบียบด้านอาหารล่าสุดที่มีผลบังคับใช้
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 386 พ.ศ.2560 เรื่อง
ก�ำหนดวิธีกำรผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในกำรผลิต
และกำรเก็บรักษำผักหรือผลไม้สดบำงชนิด และกำรแสดงฉลำก
ผักและผลไม้สดเป็นอาหารที่มีความส�าคัญทั้งทางเศรษฐกิจและต่อสุขภาพของมนุษย์ โดยองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food
and Agriculture Organization of the United Nations; FAO) และองค์การอนามัยโลก (World Health Organization; WHO)
ได้แนะน�าว่าการบริโภคผักและผลไม้สดประมาณวันละ 400-600 กรัม สามารถลดความเสี่ยงของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
แต่ก็พบปัญหาการตกค้างของสารเคมีก�าจัดศัตรูพืชในผักและผลไม้สดหลายชนิดเกินค่ามาตรฐานอยู่เป็นระยะ
ดังนั้น เพื่อเป็นการพัฒนาระบบการก�ากับดูแลและยกระดับผักและผลไม้สด 3. ก�าหนดขอบข่ายของประกาศฯ โดยให้มีผลบังคับใช้กับผู้ผลิต ผู้น�าเข้า
ให้มีคุณภาพและความปลอดภัยส�าหรับผู้บริโภคตลอดห่วงโซ่ กระทรวง- และผู้จ�าหน่ายผักหรือผลไม้สด กรณีดังนี้
สาธารณสุข โดยส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงได้ออกประกาศ (1) การคัดและบรรจุที่มีการรับวัตถุดิบจากผู้อื่น หรือ
กระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 386 พ.ศ.2560 เรื่อง ก�าหนดวิธีการผลิต เครื่องมือ (2) การคัดและบรรจุที่ไม่ได้มีการรับวัตถุดิบจากผู้อื่น แต่มีอาคารหรือ
เครื่องใช้ในการผลิตและการเก็บรักษาผักหรือผลไม้สดบางชนิด และการแสดง โรงเรือนส�าหรับคัดและบรรจุ
ฉลาก ก�าหนดหลักเกณฑ์วิธีการผลิตที่ดีส�าหรับสถานที่ผลิต (คัดและบรรจุ) และ (3) การน�าเข้าเพื่อจ�าหน่าย
ระบบตามสอบย้อนกลับ (Traceability) ไปหาแหล่งปลูก โดยน�าร่องกับผักและ ทั้งนี้ ประกาศฯ ดังกล่าว ไม่ใช้บังคับกรณีที่เป็นการคัดและบรรจุที่ผู้ผลิตเป็น
ผลไม้สดบางชนิดที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพของผู้บริโภค และใช้กลไกการตลาด ผู้จ�าหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค หรือกรณีเป็นการคัดและบรรจุที่จ�าหน่ายเป็น
เป็นตัวขับเคลื่อน โดยก�าหนดให้โรงคัดบรรจุซึ่งเป็นผู้รับซื้อผักหรือผลไม้สดต้องมี อาหารพร้อมปรุงและอาหารส�าเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที
มาตรการการคัดเลือกวัตถุดิบจากแหล่งเพาะปลูกที่มีระบบการควบคุมการใช้ 4. สถานที่ผลิตและสถานที่น�าเข้าจะต้องได้รับอนุญาตตามหลักเกณฑ์
สารเคมีทางการเกษตรอย่างปลอดภัย โดยมีสาระส�าคัญสรุปได้ดังต่อไปนี้ ที่ก�าหนด ดังนี้
1.ก�าหนดนิยาม ดังนี้ (1) กรณีผลิตภายในประเทศ: สถานที่ผลิตผักหรือผลไม้สดต้องปฏิบัติ
“ผลิต” หมายความว่า การคัดและบรรจุผักหรือผลไม้สดที่มีการรับวัตถุดิบ ตามหลักเกณฑ์ข้อก�าหนดด้านสุขลักษณะที่ดีในการผลิต (GMP)
จากผู้อื่น หรือ การคัดและบรรจุผักหรือผลไม้สดที่ไม่มีการรับวัตถุดิบจากผู้อื่น ตามประกาศฯ ก�าหนดหรือตามมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า หรือ
แต่มีอาคารหรือโรงเรือนส�าหรับการคัดและบรรจุ ไม่ต�่ากว่าเกณฑ์ที่ก�าหนดไว้
“การคัดและบรรจุ” หมายความว่า กระบวนการจัดการผักหรือผลไม้สดหลัง (2) กรณีน�าเข้า: ต้องจัดให้มีเอกสารรับรองสถานที่ผลิตผักหรือผลไม้สด
การเก็บเกี่ยว ตั้งแต่การคัด และบรรจุไว้ในบรรจุภัณฑ์ชนิดต่างๆ เพื่อการจ�าหน่าย ที่มีกระบวนการคัดและบรรจุในบรรจุภัณฑ์ชนิดต่างๆ ที่มีมาตรฐาน
ทั้งนี้ อาจมีการท�าความสะอาด การตัดแต่ง การเคลือบผิว หรือกระบวนการอื่นๆ การผลิตที่ไม่ต�่ากว่าหลักเกณฑ์ที่ก�าหนดไว้ เช่น
เพื่อรักษาคุณภาพของผักหรือผลไม้สด ด้วยหรือไม่ก็ได้
2. ก�าหนดชนิดของผักหรือผลไม้สดที่ต้องปฏิบัติตามประกาศฯ ฉบับนี้
จ�านวน 48 ชนิด ดังตารางในหน้า 20
AUG 2018 FOOD FOCUS THAILAND 19