Page 64 - 149
P. 64

Drinking Supplement Edition


      เทรนด์อาหารและเครื่องดื่มที่มีแนวโน้มเติบโตและน่าจับตามองในอนาคต
      Food and Beverage Trends that will Shape the Future


                                                                        เครื่องดื่มออร์แกนิก
                                                                        •  กาแฟออร์แกนิก
                                                                        •  ชาสมุนไพรออร์แกนิก เช่น ชาตะไคร้ ชาใบหม่อน
                                                                        •  น�้าผลไม้ออร์แกนิก เช่น น�้าฝรั่ง น�้ามะขาม
        ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องดื่ม                               Organic Beverages
        •  ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารบ�ารุงสมอง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร            •   Organic coffee
          ส�าหรับดีท็อกซ์ล้างสารพิษ                                     •   Herbal organic tea such as lemongrass tea, mulberry tea
        •  ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารส�าหรับผู้สูงอายุ เช่น ผลิตภัณฑ์          •   Organic juice such as guava juice, tamarind juice
          เสริมอาหารบ�ารุงสายตา ต้านอนุมูลอิสระ ผลิตภัณฑ์เสริม
          อาหารบ�ารุงโกรทฮอร์โมนชะลอวัย
        •  เครื่องดื่มฟังก์ชันนอล เช่น เครื่องดื่มผสมวิตามิน   การท�างานของร่างกาย เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน และบ�ารุงสุขภาพของ พวก
          เวย์โปรตีน (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อการออกก�าลังกาย)   เขา นอกจากนี้เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมจากผลไม้เมืองร้อน หรือผลไม้กลุ่ม Super
          เครื่องดื่มผสมสารออกฤทธิ์เพื่อความงาม              fruit เช่น มะพร้าว ทับทิม มังคุด ก็มีแนวโน้มและโอกาสทางการตลาดที่ดีใน

        Food and Beverage Supplements                        สหรัฐอเมริกาเช่นกัน เนื่องจากสมุนไพรและผลไม้ไทย เหล่านี้ล้วนมีสรรพคุณ
        •  Food supplements such as brain supplement, and
          detox supplement                                   ทางยาและมีประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างมาก
        •  Food supplements for aging people such as eye        ญี่ปุ่น เครื่องดื่มประเภท Naturally Healthy ที่ผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติ
          supplement, antioxidant, and growth hormone
          supplement to aging prevention.                    ที่ดีต่อสุขภาพ เช่น ข้าวกล้อง และประเภท Fortified/ Functional ที่มีการเพิ่ม
        •   Functional drinks such as vitamin mix water,  whey
          protein (supplement for exercising) and beauty drinks   สารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ เช่น คอลลาเจน เป็นกลุ่มสินค้าอาหารเพื่อสุขภาพ
                                                             ที่ครองตลาดส่วนใหญ่ของญี่ปุ่น มีสัดส่วนร้อยละ 51.6 และ 35.6 ของมูลค่า

       ปัจจัยเสี่ยงต่ออุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม          การจ�าหน่ายสินค้าอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพทั้งหมดในตลาดญี่ปุ่น
        สหรัฐอเมริกายังคงอันดับค้ามนุษย์ของไทยไว้ที่ระดับ Tier 2 Watch List ก่อ  ปี 2560 ตามล�าดับ โดยเครื่องดื่มปราศจากแอลกอฮอล์เพื่อสุขภาพ เป็นชนิด
       ให้เกิดความเสี่ยงต่อภาคการส่งออกของไทย เนื่องจากกระทรวงการต่าง  สินค้าที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในตลาดญี่ปุ่น มีส่วนแบ่งร้อยละ 58.1
       ประเทศสหรัฐฯ ก�าหนดให้ประเทศที่อยู่ในระดับ Tier 2 Watch List ติดต่อกัน  ตามด้วยผลิตภัณฑ์จากนม มีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 16.4
       ครบ 2 ปีมีโอกาสที่จะถูกปรับลดระดับไปเป็น Tier 3 ในการประเมินครั้งต่อไป    จีน เครื่องดื่มที่ลดปริมาณสารบางประเภทเพื่อประโยชน์ต่อสุขภาพ
       ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของสินค้าไทยในอนาคตโดยเฉพาะสินค้า  (Better for You) เช่น น�้าตาล สารกันเสีย เป็นต้น นับเป็นสินค้าที่น่าจะท�าการ-
       ประมง                                                 แข่งขันในตลาดจีนได้ดี เพราะจากภาวะเศรษฐกิจของประเทศและคุณภาพ
           ไทยยังอยู่ในสถานะที่สหภาพยุโรปได้ให้ใบเหลืองจากการท�าประมง        ชีวิตของประชากรในประเทศที่ดีขึ้น ท�าให้ผู้บริโภคชาวจีนจ�านวนมากเริ่มหัน
       ผิดกฎ IUU Fishing ท�าให้ไทยมีความเสี่ยงต่อการได้ใบแดงถูกระงับการส่งออก  มาให้ความส�าคัญกับเรื่องสุขภาพร่างกายและสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของ
       อาหารทะเลแปรรูปไปยังสหภาพยุโรป อย่างไรก็ตาม ไทยยังคงด�าเนินการ  ตนเองมากขึ้น ประกอบกับผู้สูงอายุที่เพิ่มจ�านวนอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิด
       แก้ไขปัญหา IUU Fishing มาโดยตลอด ซึ่งมีแนวโน้มดีขึ้น ตามล�าดับ  ความต้องการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันก�าลัง
           ความเสี่ยงจากการแก้ไขกฎหมายของไทยให้สามารถน�าเข้าเนื้อหมูและ  การผลิตสินค้าเพื่อสุขภาพภายในประเทศมีไม่เพียงพอต่อความต้องการของ
       เครื่องในที่มีสารเร่งเนื้อแดงแรคโตพามีนจากสหรัฐฯ โดยล่าสุดหน่วยงานที่  ประชาชนจีน และปัญหาด้านการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ท�าให้ผู้ประกอบการ
       เกี่ยวข้องอยู่ระหว่างการหารือและศึกษาความเป็นไปได้ในการแก้ไขกฎหมาย   ชาวต่างชาติเข้ามาท�าธุรกิจด้านสินค้าสุขภาพในจีน และมีการน�าเข้าสินค้า
       ซึ่งหากสามารถแก้ไขกฎหมายให้สามารถน�าเข้าเนื้อหมูที่มีสารเร่งเนื้อแดง  อาหารเพื่อสุขภาพจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
       จากสหรัฐฯ ได้ส�าเร็จ จะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงหมูของไทย
       เป็นอย่างมาก เนื่องจากราคาเนื้อหมูของไทยแพงกว่าเนื้อหมูของสหรัฐฯ   ข้อมูลเพิ่มเติม/Additional Information
       (ประชากรสหรัฐฯ ไม่ทานเครื่องในหมู เมื่อน�ามาถัวเฉลี่ยจะท�าให้เนื้อหมูจาก  1    เครื่องดื่มสปาร์คกลิ้ง คือ เครื่องดื่มชนิดที่มีฟอง โดยมีการอัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลงไปในน�้า
       สหรัฐฯ มีราคาต�่ากว่าเนื้อหมูของไทย)                    เพื่อท�าให้เกิดฟอง ตัวอย่างเช่น น�้าแร่สปาร์คกลิ้ง น�้าผลไม้สปาร์คกลิ้ง เป็นต้น
                                                               Sparkling drink is a drinking with bubble, which contain carbon dioxide gas in water
                                                               making a bubble such as sparkling mineral water and sparkling fruit juice and etc.
       แนวโน้มตลาดเครื่องดื่มโลกที่ไทยน่าจะมีโอกาสเข้าท�าตลาด  เอกสารอ้างอิง / References
          สหรัฐอเมริกา ชาสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ที่ผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติของ  Sunset-Sunrise Industry 2018. อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม. ส่วนเศรษฐกิจรายสาขา
                                                               ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจ ธุรกิจและเศรษฐกิจฐานราก ธนาคารออมสิน
       ไทย เช่น ขิง สะระแหน่ ตะไคร้ ขมิ้นชัน เป็นตัวอย่างของเครื่องดื่มที่คาดว่าจะ  ตลาดอาหารเพื่อสุขภาพสหรัฐอเมริกา. รายงานตลาดอาหารโลก. ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรม
       มีศักยภาพในตลาดสหรัฐอเมริกา โดยผู้ประกอบการไทยควรเน้นเจาะกลุ่ม          อาหาร สถาบันอาหาร
                                                             ตลาดอาหารเพื่อสุขภาพญี่ปุ่น. รายงานตลาดอาหารโลก. ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร
       ผู้บริโภคชาวอเมริกันวัยท�างานและ วัยสูงอายุ ที่ต้องการเครื่องดื่มช่วยเสริม    สถาบันอาหาร
                                                             ตลาดอาหารเพื่อสุขภาพจีน. รายงานตลาดอาหารโลก. ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร
                                                               สถาบันอาหาร
      62 AUG 2018 NO. 50
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69