Page 28 - 150
P. 28
SPECIAL TALK BY FDA
รูปที่ 1 แผนผังการพิจารณาปริมาณสารพิษตกค้างจากวัตถุอันตรายทางการเกษตร ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 387 พ.ศ.2560 เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกค้าง
Diagram 1 Flow chart showing pesticide residue detection guidelines according to the Notification of the Ministry of Public Health No.387 B.E.2560 (2017) Re:
Food Containing Pesticide
ก�าหนดปริมาณสารพิษตกค้างในอาหารโดยแนวทางการพิจารณาปริมาณ (ข) ไม่เกิน 0.01 มิลลิกรัมสารพิษตกค้างต่อกิโลกรัมอาหาร
4สารพิษตกค้างจากวัตถุอันตรายทางการเกษตร สรุปได้ตามรูปภาพที่ 1 ส�าหรับอาหารอื่น นอกเหนือจากกลุ่มพืชที่ก�าหนดไว้ใน
ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ บัญชีหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศฉบับนี้
4.1 ต้องตรวจไม่พบสารพิษตกค้างจากวัตถุอันตรายทางการเกษตร (2) ปริมาณสารพิษสูงสุดที่ปนเปื้อนจากสาเหตุที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
ชนิดที่ 4 เป็นวัตถุอันตรายที่ห้ามมิให้มีการผลิต การน�าเข้า การส่งออก หรือการมี (Extraneous Maximum Residue Limit; EMRL) ซึ่งก�าหนดไว้ส�าหรับ
ไว้ในครอบครองตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 และที่แก้ไข วัตถุอันตรายทางการเกษตร 5 ชนิด คือ อัลดรินและดีลดริน คลอร์เดน
เพิ่มเติม พ.ศ.2551 ซึ่งก�าหนดไว้จ�านวน 82 รายการ ตามบัญชีหมายเลข 1 ดีดีที เอนดริน และเฮปทาคลอร์ โดยตรวจพบได้ไม่เกินที่ก�าหนดไว้
แนบท้ายประกาศฉบับนี้ ในบัญชีหมายเลข 4 แนบท้ายประกาศฉบับนี้
4.2 ตรวจพบสารพิษตกค้างได้แล้วแต่กรณี
(1) กรณีเป็นวัตถุอันตรายทางการเกษตรที่มีข้อก�าหนดปริมาณสารพิษ ก�าหนดวิธีการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างในอาหาร เพื่อให้ห้องปฏิบัติการ
ตกค้างสูงสุด (Maximum Residue Limit; MRL) ไว้แล้ว ต้องไม่เกิน 5ตรวจวิเคราะห์มีการปฏิบัติที่เป็นแนวทางเดียวกัน ตามบัญชีหมายเลข 5
ค่า MRL ก�าหนดไว้ตามเงื่อนไข ดังนี้ แนบท้ายประกาศฉบับนี้
(1.1) ไม่เกินค่า MRL ที่ก�าหนดในบัญชีหมายเลข 2 แนบท้าย ระยะเวลาบังคับใช้ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 387 พ.ศ.2560 เรื่อง
ประกาศฉบับนี้ 6อาหารที่มีสารพิษตกค้าง มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2560
(1.2) กรณีที่ไม่มีการก�าหนดชนิดของวัตถุอันตรายทางการเกษตร บทลงโทษ ผู้ใดฝ่าฝืนจ�าหน่ายอาหารที่มีสารพิษตกค้างไม่เป็นไปตาม
หรือไม่มีการก�าหนดชนิดของอาหารไว้ในบัญชีหมายเลข 2 7มาตรฐานที่ไว้ตามประกาศฉบับนี้ มีความผิดตามมาตรา 28 แห่ง
แนบท้ายประกาศฉบับนี้ ต้องไม่เกินค่า MRL ที่ก�าหนดไว้ พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 จัดเป็นอาหารผิดมาตรฐาน มีโทษปรับไม่เกิน
ในโคเด็กซ์ (สามารถดูรายละเอียดได้จาก http://www.fao. 50,000 บาท หรือ เป็นอาหารไม่บริสุทธิ์ตามมาตรา 26 (1) แห่งพระราชบัญญัติอาหาร
org/fao-who-codexalimentarius/standards/pestres/en/) พ.ศ.2522 มีโทษจ�าคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจ�า
(1.3) กรณีที่เป็นวัตถุอันตรายทางการเกษตรที่ไม่ได้มีการก�าหนด ทั้งปรับ
ค่า MRLไว้ตามข้อ (1.1) และ (1.2) ตรวจพบได้ไม่เกินค่า
ดีฟอลต์ลิมิต (default limit) ดังนี้
(ก) ไม่เกินค่าดีฟอลต์ลิมิตที่ก�าหนดไว้ในบัญชีหมายเลข 3 กฎหมำยที่เกี่ยวข้อง/ Relevant Regulation
แนบท้ายประกาศฉบับนี้ ซึ่งก�าหนดไว้ส�าหรับกลุ่มพืช ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 387 พ.ศ.2560 เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกค้าง
ลงวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ.2560 สืบค้นได้จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/
เท่านั้น PDF/2560/E/228/8.PDF
The Notification of the Ministry of Public Health No.387 B.E.2560 (2017)
Re: Food Containing Pesticide Residues, dated the 18 August B.E.2560 (2017).
th
Available from: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/228/8.PDF
26 FOOD FOCUS THAILAND SEP 2018