Page 27 - 150
P. 27
SPECIAL TALK BY FDA
SPECIAL TALK BY FDA
ปัจจุบันพบว่ามีการใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตรเพื่อการก�าจัดศัตรูพืชในระหว่าง
การเพาะปลูกหรือการเก็บรักษา ซึ่งอาจท�าให้มีสารพิษดังกล่าวตกค้างในอาหารที่มนุษย์
บริโภค ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เลขที่ 387 พ.ศ.2560 เรื่องอาหารที่มีสารพิษตกค้าง โดยได้ปรับปรุงข้อก�าหนดปริมาณ
สารพิษตกค้างในอาหารต่างๆ ให้ครอบคลุมเหมาะสมเป็นปัจจุบันเพื่อให้ระบบ
การควบคุมการใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตรมีความปลอดภัยในการคุ้มครอง
ผู้บริโภคตลอดห่วงโซ่ และสอดคล้องเป็นมาตรฐานเดียวกันของประเทศ โดยมี
สาระส�าคัญสรุปได้ดังต่อไปนี้
กฎระเบียบด้านอาหารล่าสุดที่มีผลบังคับใช้ ส�ำนักอำหำร
ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา
กระทรวงสาธารณสุข
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 387 พ.ศ.2560 Bureau of Food
Food and Drug Administration
เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกค้าง Ministry of Public Health
food@fda.moph.go.th
ยกเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับเดิมทั้ง 2 ฉบับ คือ ประกาศ สารพิษตกค้างสูงสุดที่มีได้ในอาหาร อันเนื่องมาจากสารพิษตกค้างที่ปนเปื้อน
1กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกค้าง ลงวันที่ 14 เมษายน จากสิ่งแวดล้อม รวมสารพิษตกค้างจากวัตถุอันตรายทางการเกษตรที่เคยใช้
พ.ศ.2554 และประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 361) พ.ศ.2556 เรื่อง มาก่อนและถูกยกเลิกการขึ้นทะเบียนการใช้ในประเทศแล้ว แต่เป็นสารพิษที่
อาหารที่มีสารพิษตกค้าง (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2556 สลายตัวช้า จึงปนเปื้อนหรือสะสมในสิ่งแวดล้อมเป็นเวลานาน มีหน่วยเป็น
มิลลิกรัมสารพิษตกค้างต่อกิโลกรัมอาหาร
2 ปรับปรุงและเพิ่มนิยาม เพื่อให้ชัดเจนและครอบคลุมขึ้น ดังนี้ ได้ในอาหาร ส�าหรับวัตถุอันตรายทางการเกษตรที่ไม่ได้ก�าหนดปริมาณสารพิษ
“ดีฟอลต์ลิมิต (default limit)” หมายความว่า ปริมาณสารพิษตกค้างที่มี
“สารพิษตกค้าง (pesticide residue)” หมายความว่า สารตกค้างใน
อาหารที่เกิดจากการใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตร และให้หมายความรวมถึง ตกค้างสูงสุด (MRL) ไว้ มีหน่วยเป็นมิลลิกรัมสารพิษตกค้างต่อกิโลกรัมอาหาร
กลุ่มอนุพันธ์ของวัตถุอันตรายทางการเกษตรนั้น ได้แก่ สารจากกระบวนการ- “ชนิดสารพิษตกค้าง (definition of residues)” หมายความว่า สารพิษตกค้าง
เปลี่ยนแปลง (conversion products) สารจากกระบวนการสร้างและสลาย ชนิดที่ก�าหนดให้ตรวจวิเคราะห์ ซึ่งอาจเป็นชนิดเดียวหรือหลายชนิดรวมกัน
(metabolites) สารจากการท�าปฏิกิริยา (reaction products) และสารที่ปนอยู่ ที่ก�าหนดให้ตรวจ
ในวัตถุอันตรายทางการเกษตร (impurities) ที่มีความเป็นพิษอย่างมีนัยส�าคัญ “วัตถุอันตรายชนิดที่ 4” หมายความว่า วัตถุอันตรายที่ห้ามมิให้มีการผลิต
“วัตถุอันตรายทางการเกษตร (pesticide)” หมายความว่า สารที่มีจุดมุ่งหมาย การน�าเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครอง โดยเป็นไปตามประกาศ
ใช้เพื่อป้องกัน ท�าลาย ดึงดูด ขับไล่ หรือควบคุมศัตรูพืชและสัตว์ หรือพืชและ กระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย ออกตามความใน
สัตว์ที่ไม่พึงประสงค์ ไม่ว่าจะเป็นการใช้ระหว่างการเพาะปลูก การเก็บรักษา พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2551
การขนส่ง การจ�าหน่าย หรือระหว่างกระบวนการผลิตอาหาร หรือสารที่อาจใช้
กับสัตว์เพื่อควบคุมปรสิตภายนอก (ectoparasites) และให้หมายความรวมถึง ชนิดของอาหารที่ก�าหนดปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด (Maximum Residue
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช สารท�าให้ใบร่วง สารท�าให้ผลร่วง สารยับยั้ง 3Limit; MRL) หรือที่ก�าหนดปริมาณสารพิษสูงสุดที่ปนเปื้อนจากสาเหตุที่
การแตกยอดอ่อน และสารที่ใช้กับพืชผลก่อนหรือหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อป้องกัน ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ (Extraneous Maximum Residue Limit; EMRL) จะก�าหนด
การเสื่อมเสียระหว่างการเก็บรักษาและการขนส่ง แต่ทั้งนี้วัตถุอันตรายทาง ครอบคลุม พืชผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ เครื่องใน ไขมัน นม ไข่ และน�้ามัน ส�าหรับชนิด
การเกษตร ไม่รวมถึงปุ๋ย สารอาหารของพืชและสัตว์ วัตถุเจือปนอาหาร ของกลุ่มพืชนั้นอ้างอิงตามมาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 9045-2559 การจัดกลุ่ม
วัตถุที่เติมในอาหารสัตว์ (feed additive) และยาสัตว์ (veterinary drug) สินค้าเกษตร: พืช และฉบับแก้ไขปรับปรุงล่าสุด ซึ่งจัดกลุ่มพืชออกเป็น
“ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด (Maximum Residue Limit; MRL)” หมวดใหญ่ 5 ประเภท ได้แก่
หมายความว่า ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดที่มีได้ในอาหาร อันเนื่องมาจาก ประเภทที่ 1 กลุ่มผลไม้
การใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตร มีหน่วยเป็นมิลลิกรัมสารพิษตกค้าง ประเภทที่ 2 กลุ่มผัก
ต่อกิโลกรัมอาหาร ประเภทที่ 3 กลุ่มธัญพืชและพืชอื่นๆ ตระกูลหญ้า
“ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดที่ปนเปื้อนจากสาเหตุที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ประเภทที่ 4 กลุ่มถั่วเปลือกแข็งและเมล็ด
(Extraneous Maximum Residue Limit; EMRL)” หมายความว่า ปริมาณ ประเภทที่ 5 กลุ่มสมุนไพรและเครื่องเทศ
SEP 2018 FOOD FOCUS THAILAND 25