Page 30 - 150
P. 30

SCOOP
       SCOOP


          กองบรรณาธิการ
          นิตยสาร ฟู้ด โฟกัส ไทยแลนด์
          Editorial Team
          Food Focus Thailand Magazine
          editor@foodfocusthailand.com


                                                            ไขมันทรานส์…

       ทอล์ก  ออฟ  เดอะ  ทาวน์  ของวงการ

       อุตสาหกรรมอาหารในชั่วโมงนี้ ต้องผายมือ
       ให้กับประเด็นร้อน “กรดไขมันทรานส์” ที่                    ถึงเวลาต้อง
       สร้างกระแสตื่นตัวให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง

       ทั้งวงการ ตั้งแต่ต้นน�้า กลางน�้า สู่ปลายน�้า          ทรานสฟอร์ม?

       การน�าเสนอข้อมูลของไขมันทรานส์ใน
       รูปแบบต่างๆ ผ่านช่องทางโซเชียลยังรวดเร็ว
       ติดสปีด…หากแต่ข้อมูลที่เราได้รับรู้นั้นจะ

       จริงหรือไม่…จริงหรือเปล่า?...    #ต้องถาม

       ผู้เชี่ยวชาญ





          “ข้อมูลที่มีการรายงานหรือกล่าวถึงไขมันทรานส์ มีทั้งใช่ และไม่ใช่”
       ศาสตราจารย์ ดร.วิสิฐ จะวะสิต อาจารย์ประจ�าสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัย
       มหิดล ในฐานะหัวหน้าวิจัยโครงการ “ประเทศไทยปลอดไขมันทรานส์” กล่าว
       เริ่มต้นกับ ฟู้ด โฟกัส ไทยแลนด์                        น�้ามันเพื่อมีไขมันอิ่มตัวธรรมชาติ ซึ่งเมื่อน�าไปใช้ในสูตรเบเกอรี่แล้วสามารถให้
          “ความคลาดเคลื่อน เกิดได้จาก 2 สาเหตุ คือ หนึ่ง…ความไม่เข้าใจ  เนื้อสัมผัสของเบเกอรี่ที่กรอบนั้น…หาได้ยาก…” ศาสตราจารย์ ดร.วิสิฐ กล่าว
       สถานการณ์เฉพาะของประเทศไทยที่แตกต่างจากซีกโลกตะวันตก รวมถึง              ประเทศในซีกโลกตะวันตก เช่น สหรัฐอเมริกา สามารถผลิตถั่วเหลืองได้ใน
       บางประเทศในเอเชียที่พึ่งพิงแหล่งไขมันที่มีความไม่อิ่มตัวสูงเป็นหลัก และ   ปริมาณมาก แต่คุณสมบัติของน�้ามันถั่วเหลืองมีข้อจ�ากัด เช่น มีสถานะเป็น
       สอง…การใช้วิธีวิเคราะห์หาไขมันทรานส์ที่ไม่ถูกต้อง ท�าให้ได้ผลการวิเคราะห์  ของเหลวที่อุณหภูมิห้อง ใช้ทอดให้กรอบได้ยาก ทั้งยังมีจุดเกิดควันต�่า หากน�ามาใช้
       สูงกว่าความเป็นจริงมาก ซึ่งสร้างความตระหนกให้กับทั้งผู้วิเคราะห์และผู้ที่          ประกอบอาหารที่ต้องใช้ความร้อนสูงก็อาจจะส่งผลให้เกิดสารก่อมะเร็งได้
       ได้เห็นข้อมูล” ศาสตราจารย์ ดร.วิสิฐ กล่าว                 “ซีกโลกตะวันตกเขาจึงต้องท�าไขมันอิ่มตัวเทียม โดยเอาน�้ามันถั่วเหลือง
                                                              ซึ่งเป็นไขมันไม่อิ่มตัว มาเติมไฮโดรเจนเข้าไปในโมเลกุลไขมันที่ว่างอยู่ เพื่อท�าให้
       ไขมันทรานส์…มาได้อย่างไร?
       ศาสตราจารย์ ดร.วิสิฐ กล่าวต่อว่า หากจะเล่าถึงที่มาของไขมันทรานส์ ก็ต้อง  มีความอิ่มตัวสูงขึ้น จากที่มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง ก็จะกลายเป็น
       ย้อนกลับไปถึงการผลิตเบเกอรี่ของซีกโลกตะวันตก ซึ่งใช้ไขมันอิ่มตัวจากสัตว์  ของแข็ง ทั้งนี้ ปริมาณไฮโดรเจนที่เติมในระดับที่แตกต่างกันก็จะได้ผลิตภัณฑ์
       เป็นส่วนประกอบ ไม่ว่าจะใช้เนยแท้ (Butter) ซึ่ง                              ที่สามารถใช้ทดแทนผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเดิม
       ได้จากนมวัวในการท�าเค้ก การใช้ไขมันหมู (Lard)                               ที่มีราคาสูง เช่น เนยเทียม เนยขาว โกโก้บัทเทอร์
       ในการท�าพัฟ พาย หรือการใช้เนยขาว (Shorten-                                  (ที่น�ามาใช้แทนไขมันจากโกโก้ที่มีราคาแพงได้)”
       ing) ที่ผลิตจากน�้ามันหมูในการท�าผลิตภัณฑ์                                  ศาสตราจารย์ ดร.วิสิฐ กล่าว
       เบเกอรี่ที่ต้องการทอดให้กรอบ
          “ต่อมาทางตะวันตกก็พบว่าไขมันสัตว์มีการ-
       ปนเปื้อนด้วยคอเลสเตอรอล อีกทั้งไขมันสัตว์ก็ยัง
       มีราคาแพงขึ้น จึงจ�าเป็นต้องหาแหล่งไขมันอื่นๆ                                ศาสตราจารย์ ดร.วิสิฐ จะวะสิต (ซ้าย)
                                                                                    อาจารย์ประจ�าสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
       ที่มีสมบัติใกล้เคียงกันมาทดแทน แต่ก็ไม่ใช่                                   รองศาสตราจารย์ ดร.วันทนีย์ เกรียงสินยศ (ขวา)
       เรื่องง่าย เพราะสภาพภูมิอากาศของเขตอบอุ่น                                    ประธานหลักสูตรโภชนาการและการก�าหนดอาหาร
                                                                                    สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
       (Temperate zone) ท�าให้มีโอกาสที่จะปลูกพืช

       28  FOOD FOCUS THAILAND  SEP  2018
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35