Page 48 - 150
P. 48
STRONG QC &
STRONG QC & QAQA
6 Common Myths
about Food Allergen Testing
6 เรื่องที่ไม่เป็นความจริง
เกี่ยวกับการทดสอบสารก่อภูมิแพ้ในอาหาร
Chiara Palladino, Ph.D.
Product Manager for Food Allergens
Romer Labs Division Holding GmbH
Chiara.Palladino@romerlabs.com
1 ชุดทดสอบสารก่อภูมิแพ้ชุดหนึ่งใช้ทดสอบกับตัวอย่าง
อาหารชนิดใดก็ได้
A test kit off the shelf works with any
food matrix.
ผลิตภัณฑ์อาหารมีองค์ประกอบที่หลากหลายมาก และวิธีการทดสอบ
บางอย่างอาจจะท�างานได้ดีกว่าในตัวอย่างอาหารบางชนิด โดยขอบเขต
ของกระบวนการทดสอบมีเพิ่มขึ้นจากความซับซ้อนที่เพิ่มเข้ามาในสมการ
2 ข้อความที่ระบุว่า “อาจมีส่วนประกอบของ...” ส�าหรับตัวอย่างอาหารที่ไม่เหมือนเดิม หรือตัวอย่างใหม่ๆ เรามักเติมสาร
สามารถแก้ปัญหาทุกอย่างได้
มาตรฐานที่รู้ค่าที่แท้จริงลงไปในการตรวจถึง 3 ระดับ เพื่อให้แน่ใจว่าสาร
“May contain…” statements can solve
all our problems. มาตรฐานที่เติมลงไปจะท�างานได้ดีกับชุดทดสอบและครอบคลุมทุกช่วงของ
การตรวจหาตามที่ต้องการ
ตามค�าแนะน�า การระบุข้อความ “อาจมีส่วนประกอบของ...” คือการ-
กระท�าโดยสมัครใจของผู้ผลิตและมักเป็นสิ่งที่ป้องกันไม่ให้ผู้ผลิตซึ่งผลิต Food products are highly diverse and certain test methods may
อาหารที่มีส่วนประกอบของสารก่อภูมิแพ้ต้องถูกเรียกเก็บผลิตภัณฑ์กลับคืน work better for certain food samples. The extent of processing adds
further complexity to this equation. With new or unfamiliar matrices,
ภายหลัง นี่แสดงให้เห็นว่าในความจริงแล้วยังคงมีความเสี่ยงของการปนเปื้อน we always undertake a spike recovery validation at three different
สารก่อภูมิแพ้ในผลิตภัณฑ์อาหารที่มีการติดฉลากข้อความเตือนอยู่ levels to make sure it works with our kits and covers the detection
อย่างไรก็ตาม ผู้บริโภคที่เป็นภูมิแพ้อาหารก็ควรหลีกเลี่ยงสินค้าที่มีฉลาก range of the assay.
ข้อความเตือนเนื่องจากยังคงมีความเสี่ยงที่ไม่อาจประเมินได้ ในทางตรงกันข้าม
ด้านผู้ผลิตเองควรหลีกเลี่ยงการใช้ข้อความในลักษณะดังกล่าวโดยที่ไม่มี การทดสอบสารก้อภูมิแพ้ด้วยเทคนิค PCR
หลักฐานการพิสูจน์ยืนยันที่เชื่อถือได้เพียงพอ 3 มีความน่าเชื่อถือกว่าเทคนิคทางระบบภูมิคุ้มกัน
tests.
Advisory “May contain…” statements are voluntary and often PCR is more reliable than immunological
serve primarily to prevent the producer from having to make
potential allergen-related product recalls. There is a real risk of โดยความเชื่อดังกล่าวนี้ขึ้นอยู่กับหลักการที่ว่า เทคนิค PCR นั้นใช้เมื่อ
allergen contamination in products that only make a precautionary ต้องการการตรวจวิเคราะห์ที่มีความแม่นย�าสูงและได้ผลการตรวจที่รวดเร็ว
statement. Consumers with allergies should avoid products with ในขณะเดียวกันการทดสอบทางระบบภูมิคุ้มกันนั้นก็ยังเป็นมาตรฐาน
precautionary labels, as the risk is not assessable. In return, food
producers should avoid using a “may contain…” statement without การทดสอบที่ให้ผลดีเยี่ยมและควรได้รับการเลือกใช้ในการทดสอบสาร-
reasonable suspicion. ก่อภูมิแพ้ในอาหารโดยตรง
It depends. Polymerase chain reaction (PCR) assays are
extremely sensitive and make sense when specificity is called for.
All the same, immunological rapid tests are still the gold standard
and should be preferred in most cases as they directly detect food
allergens.
46 FOOD FOCUS THAILAND SEP 2018