Page 28 - 152
P. 28

SPECIAL FOCUS
             SPECIAL FOCUS






























             ธรรมชาติของการละลายอาหารแช่แข็ง

             หากการแช่แข็ง (Freezing) คือ การดึงความร้อนในอาหารออกให้เกิด
             น�้าแข็ง การละลาย (Thawing) ก็คือ การให้ความร้อนแก่อาหารเพื่อให้
             น�้าแข็งละลาย  ดังนั้น  กระบวนการทั้งสองนี้จึงเป็นการย้อนกลับกันในแง่                กองบรรณาธิการ
             ของการให้และการดึงความร้อน แต่ต่างกันในแง่ของการส่งผ่านความร้อน                      นิตยสำร ฟู้ด โฟกัส ไทยแลนด์

             ของน�้าและน�้าแข็ง  ดังนั้น  ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิอาหารกับเวลา                     Editorial Team
                                                                                                  Food Focus Thailand Magazine
             ในการปฏิบัติ หรือ Freezing curve กับ Thawing curve จึงต่างกัน                        editor@foodfocusthailand.com

            การละลายอาหารแช่แข็งที่เหมาะสม






                น�้ำแข็งมีคุณสมบัติในกำรเป็นตัวน�ำควำมร้อน (Thermal conductivity) ได้        โมเลกุลของน�้ำแข็งทั้งภำยในและที่ผิวอำหำรจะได้รับกำรกระตุ้นให้สั่นไหวเกิด
             ดีกว่ำน�้ำถึง 4 เท่ำ และยังมีคุณสมบัติในกำรกระจำยควำมร้อน (Thermal  ควำมร้อนขึ้นพร้อมกัน กำรละลำยจึงเกิดขึ้นเร็วและสมบูรณ์กว่ำ ผนวกกับกำรที่
             diffusivity) ดีกว่ำน�้ำถึง 9 เท่ำ ดังนั้น เมื่อท�ำกำรละลำยอำหำรแช่แข็งโดยกำรให้  ควำมร้อนที่ผิวอำหำรสำมำรถสูญเสียไปสู่อำกำศรอบด้ำนได้ง่ำยกว่ำภำยใน
             ควำมร้อนจำกพื้นผิวหน้ำ (Surface heating) ท�ำให้เกิดกำรเคลื่อนย้ำยของน�้ำ           ดังนั้น อุณหภูมิที่ผิวหน้ำจึงมักจะต�่ำกว่ำภำยในเล็กน้อย (0.2-1  �C)
             ในอำหำร (Non-convection of water in tissue) น�้ำแข็งนั้นจะส่งผ่ำนควำมร้อนและ  อย่ำงไรก็ดี กำรใช้เตำไมโครเวฟในกำรละลำยน�้ำแข็งก็อำจท�ำให้เกิดปัญหำ
             เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้เร็วกว่ำน�้ำ (ที่อยู่นิ่ง) เรำจึงเห็นกำรละลำยที่ผิวหน้ำอำหำร  เรื่องควำมไม่สม�่ำเสมอ (Non-uniformity) ของเนื้ออำหำรภำยใน คือ อำจท�ำให้
             อย่ำงเร็ว แต่เมื่อผิวหน้ำเปลี่ยนสภำพเป็นน�้ำ น�้ำก็จะหน่วงเหนี่ยวกำรส่งผ่ำน            เกิดควำมร้อนเป็นจุดๆ ภำยในอำหำร (Localized heating pocket) ซึ่งจะมีผลต่อ
             และเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอำหำรให้ช้ำลง ท�ำให้ใช้เวลำนำนขึ้น กว่ำจะส่งผ่ำน  คุณภำพของอำหำรได้
             ควำมร้อนไปถึงชั้นน�้ำแข็งได้และให้ควำมร้อนแฝงแก่น�้ำแข็ง นั่นคือสำเหตุว่ำท�ำไม  กล่ำวโดยสรุปคือ วิธีที่เหมำะสมกับกำรละลำยอำหำรแช่แข็ง คือ วิธีที่รวดเร็ว
             กำรละลำยอำหำรแช่แข็งจึงใช้เวลำนำนนัก และบ่อยครั้งที่สังเกตดูจำกภำยนอก  ที่สุด (Fast thawing) แต่ต้องระมัดระวังไม่ให้อุณหภูมิสูงเกินไปจนเชื้อจุลินทรีย์
             ว่ำละลำยดีแล้ว เมื่อผ่ำลงไปในอำหำรนั้นกลับพบว่ำภำยในยังคงเป็นน�้ำแข็งอยู่  ที่ผิวหน้ำหรือในอำหำรสำมำรถเจริญได้อย่ำงรวดเร็ว ซึ่งปัญหำนี้จะหมดไป

             วิธีการละลายที่เหมาะสม                                หำกผู้บริโภคน�ำอำหำรไปปรุงผ่ำนควำมร้อนที่สำมำรถท�ำลำยจุลินทรีย์ได้ และ
             ในเมื่อกำรละลำยน�้ำแข็งโดยกำรส่งผ่ำนควำมร้อนจำกผิวหน้ำต้องใช้เวลำนำน  บริโภคจนหมด
             มำก กำรละลำยน�้ำแข็งโดยกำรให้ควำมร้อนจำกภำยใน (Internal heating) จึง  กำรละลำยที่รวดเร็วนั้นจะให้อำหำรที่คืนตัวมีคุณภำพ
             เป็นทำงเลือกอีกประกำรหนึ่งที่ประหยัดเวลำมำกกว่ำ ด้วยเหตุนี้ จึงมีกำรน�ำ               ดีกว่ำกำรใช้เวลำนำน (Slow thawing) กำรละลำย
             เตำไมโครเวฟ (Microwave) มำใช้ในกำรละลำยอำหำรแช่แข็ง   ที่ใช้เวลำนำนจะก่อให้กำรสูญเสียน�้ำจำกอำหำร
                วิธีกำรท�ำงำนของเตำไมโครเวฟ คือ ให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำแพร่เข้ำสู่อำหำร   เป็นจ�ำนวนมำก เนื่องจำกกำรเกิดผลึกน�้ำแข็งใหม่
             ไปให้ควำมร้อนแก่โมเลกุลของน�้ำและอำหำรโดยตรง ด้วย Dielectric heating   มักจะท�ำลำยผนังเนื้อเยื่อของเซลล์ ซึ่งเป็น
             28  FOOD FOCUS THAILAND  NOV  2018


         28-31_Special Focus_Thawing.indd   28                                                                      24/10/2561 BE   17:36
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33