Page 29 - 152
P. 29

SPECIAL FOCUS

                 สาเหตุหนึ่งที่ท�าให้เนื้อเยื่อไม่สามารถดูดซึมน�้ากลับได้   หลักการแช่แข็งอาหารที่ควรปฏิบัติ ทั้งยังอาจมีการเสื่อมเสียของโครงสร้างเนื้อเยื่อ และสูญเสียคุณค่า
                 นั่นคือ น�้าที่เห็นไหลซึมออกมา (Drip loss) จากอาหาร  ทางอาหารไปบางส่วนก่อนน�ากลับไปแช่แข็งอีก ดังนั้น จึงพอจะสรุปได้ว่าอาหารที่แช่แข็งซ�้าแล้วซ�้าอีก
                 แช่แข็ง ซึ่งมักจะเป็นผลเสียต่อสี รส คุณค่าทางอาหาร   ย่อมมีคุณภาพลดลงเรื่อยๆ จะลดลงมากหรือน้อยก็ขึ้นกับชนิดอาหาร เทคนิคการน�าไปแช่แข็ง
                 และเนื้อสัมผัสของอาหาร การเกิด Drip หรือ Thaw   การเก็บรักษา (เวลา และอุณหภูมิ) การน�ามาละลาย และการน�าไปปรุงอาหาร แต่สิ่งที่ควรค�านึงถึงเป็น
                 exudate นี้มีปัจจัยเนื่องจากโครงสร้างอาหาร การ-  อย่างมาก คือ ความปลอดภัยในด้านจุลินทรีย์ ซึ่งสามารถเจริญได้ขณะท�าการละลายครั้งแรก และ
                 เปลี่ยนแปลงทางเคมี ชีวเคมี และเคมีกายภาพของ  หลังจากอาหารแช่แข็งละลายแล้ว รวมถึงสามารถได้รับการปนเปื้อนจุลินทรีย์เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น
                 อาหาร รวมถึงวิธีการแช่แข็ง การเก็บรักษาในสภาพ  ความเสี่ยงต่อจุลินทรีย์จึงเพิ่มสูงขึ้นมาก
                 เยือกแข็งและการละลายอาหาร                 ด้วยเหตุนี้ ผู้ผลิตอาหารแช่แข็งจึงควรจะพิมพ์ค�าแนะน�า หรือให้ความรู้กับผู้บริโภคเกี่ยวกับการ-
                                                        ละลายอาหารแช่แข็ง หรือการน�าไปใช้ปรุงอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับชนิดอาหาร เช่น ควรน�าเฉพาะ
                 คุณภาพของอาหารหลังการละลาย             ปริมาณที่ต้องการบริโภคมาละลายเพื่อใช้ หรือค�าแนะน�า ค�าเตือนในการปฏิบัติต่ออาหารแช่แข็งที่ละลาย
                 ในฐานะผู้ผลิต สิ่งที่จ�าเป็นต้องค�านึงถึงในการละลาย  ใช้แล้วบริโภคไม่หมด ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภคและชื่อเสียงของโรงงานของท่าน
                 อาหารแช่แข็งก็คือ ความเหมาะสมของเวลาและ
                 อุณหภูมิ การละลายที่ใช้เวลาสั้น หรือ Fast thawing
                 โดยทั่วไปจะให้อาหารที่มีคุณภาพดีกว่าการใช้เวลานาน
                 ทั้งนี้ เพราะการที่อาหารแช่แข็งมีอุณหภูมิอยู่ที่จุดต�่ากว่า
                 จุดเยือกแข็งเพียงเล็กน้อย (Subfreezing temperature)
                 ซึ่งเป็นช่วงเวลาส่วนใหญ่ของการละลายจะก่อให้เกิด
                 การเปลี่ยนแปลงที่มีผลเสีย คือ
                    • การเกิดผลึกน�้าแข็งใหม่ที่ใหญ่ขึ้น (Recrystalliza-
                 tion) ซึ่งสามารถท�าลายเนื้อเยื่อ โครงสร้าง และ
                 เนื้อสัมผัสของอาหาร
                    • การเกิดปฏิกิริยาเคมีในอัตราที่สูงอย่างรวดเร็ว
                 ซึ่งมีผลเสียต่อ สี กลิ่น รส และคุณค่าทางอาหาร มีผลให้
                 เกิดการปรับตัวและเจริญเติบโตของจุลินทรีย์บางชนิด
                 โดยเฉพาะหากเวลาในการละลายนั้นนาน
                    หากการผลิตอาหารแช่แข็งนั้นมีการควบคุม
                 คุณภาพและสุขาภิบาลของผู้ประกอบการและโรงงาน
                 ที่ดีแล้ว มักจะไม่พบปัญหาการเจริญของเชื้อจนถึงขั้น
                 ที่เป็นอันตรายจากการละลายอาหารแช่แข็งตามปกติ
                 (ตามที่โรงงานแนะน�าผู้บริโภค) หลักการส�าคัญคือ ทาง
                 โรงงานต้องมีการควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ในอาหาร
                 (Load of microorganism) ให้อยู่ตามมาตรฐาน และ
                 ระหว่างการละลายไม่ควรให้มีการสัมผัสของสารให้
                 ความร้อนกับอาหารโดยตรง เช่น น�้าที่ใช้หล่อละลาย
                 อันมักเป็นแหล่งเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ให้แก่อาหาร
                 (Contamination of microorganism) การใช้ฟิล์มหรือ
                 ถุงพลาสติกที่แนบติดอาหาร (Skin-tight pack) บรรจุ
                 อาหารแช่แข็งแล้วแช่ในน�้าสะอาดที่มีการหมุนเวียน
                 ของน�้ามักจะให้ผลในการละลายที่รวดเร็วดีกว่า
                 ความปลอดภัยของการน�าอาหารแช่แข็ง
                 ที่ละลายแล้วกลับไปแช่แข็งอีกครั้ง
                 การน�าอาหารที่ละลายแล้วไปแช่แข็งใหม่ หรือเข้าสู่
                 การแปรรูปใหม่นั้น มักจะท�าให้คุณภาพอาหารนั้นลดลง
                 ดังนั้น การน�าอาหารที่มีคุณภาพลดลงไปแช่แข็งก็เท่ากับ
                 เริ่มต้นการแช่แข็งด้วยอาหารที่มีคุณภาพต�่า ขัดกับ




                                                                                                  NOV  2018 FOOD FOCUS THAILAND  29


         28-31_Special Focus_Thawing.indd   29                                                                      24/10/2561 BE   17:36
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34