Page 42 - 152
P. 42

SMART PRODUCTI
             SMART PRODUCTIONON





























            Two Key Processes of



            Creating Perfect Quality of Sauces



            2 กระบวนการส�าคัญเพื่อสร้างสรรค์ซอสคุณภาพเยี่ยม




                        หทัยภัทร ธีรศรัณย์                    จากวิถีการรับประทานอาหารของคนไทยที่เปลี่ยนไป ท�าให้ผู้คนมองหา
                        Hathaiphat Terasarun                  ผลิตภัณฑ์ซอสที่มีความหลากหลายมากขึ้นเพื่อใช้ในการปรุงอาหาร
                        Researcher
                        Yamamori R&D Center, Yamamori Trading Co., Ltd.  มื้อโปรด  ผู้ผลิตซอสจึงควรตอบสนองความต้องการของตลาด
                        hathaiphat@yamamoritrading.com
                                                              โดยการพัฒนาและน�าเสนอสินค้าชนิดใหม่สู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง

               ในฐานะผู้วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ทัน อุณหภูมิขณะปรับ เนื่องจากของเหลวที่อุณหภูมิต่างกันจะมีปริมาตรไม่เท่ากัน
             ต่อความต้องการของตลาดมีระยะเวลาจ�ากัด ดังนั้น การเตรียมกระบวนการผลิต  อีกปัจจัยที่ส�าคัญส�าหรับการควบคุมการผลิตเพื่อให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพคงที่
             (Process flow chart) และข้อก�าหนดผลิตภัณฑ์ (Product specification) โดย คือ การวิเคราะห์ด้านเคมี-กายภาพ เช่น ค่าความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณของแข็ง
             อาศัยหลักการและทฤษฏีเพื่อควบคุมการผลิตจะช่วยให้สินค้าที่ผลิตในระดับ ที่ละลายในของเหลว ปริมาณเกลือ ความหนืด เป็นต้น โดยค่าดังกล่าว
             อุตสาหกรรมมีคุณภาพเช่นเดียวกับที่พัฒนาในระดับห้องทดลอง ส�าหรับการผลิต ควรถูกวิเคราะห์และก�าหนดตั้งแต่ระดับห้องทดลอง
             ซอสในระดับอุตสาหกรรม กระบวนการควบคุมคุณภาพสินค้าให้คงที่และปลอดภัย  ความปลอดภัยของสินค้า: การติดตั้งตะแกรงหรือตัวกรองที่มีขนาด
             ที่มีความส�าคัญเป็นอย่างยิ่งคือ “การต้มผสม” และ “การยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์”  เหมาะสมส�าหรับก�าจัดสิ่งแปลกปลอม และแม่เหล็กส�าหรับดักจับโลหะ
                                                                    ในแต่ละจุดวิกฤติจะช่วยเพิ่มความมั่นใจด้านความปลอดภัยของสินค้า
             กระบวนการต้มผสม
               ความคงที่ของกลิ่นรส: โดยทั่วไปการใช้ความร้อนในกระบวนการผสมซอส กระบวนการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์
             และเครื่องปรุงรสเพื่อลดระยะเวลาในการละลายวัตถุดิบ ในขณะที่วัตถุดิบบางชนิด  ในปัจจุบันมีนวัตกรรมที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์มากมาย
             เช่น สตาร์ช ต้องการความร้อนเพื่อแสดงคุณสมบัติเฉพาะตัว ซึ่งเมื่อผลิตภัณฑ์        แต่จากวิธีการคิดและการค�านวนที่เป็นระบบ การยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ด้วย
             ได้รับความร้อน น�้าบางส่วนจะระเหยไป ดังนั้น สิ่งแรกที่ควรค�านึงถึง คือ น�้าหนัก ความร้อนยังคงเป็นวิธีที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
             สุดท้ายของการต้มผสม โดยน�้าหนักจะต้องถูกปรับให้เป็นร้อยละ 100 หากส่วนผสม   โดยใช้ความร้อน: ปกติการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์ซอสจะใช้
             ทั้งหมดหนักรวมกัน 1 ตัน น�้าหนักสุดท้ายหลังการต้มจะต้องเท่ากับ 1 ตัน              วิธีการพาสเจอร์ไรซ์ โดยอ้างอิงจากกฎหมายอาหารของไทยเรื่องข้อก�าหนด
             ส�าหรับอุตสาหกรรมในปัจจุบัน การปรับน�้าหนักสุดท้ายจะใช้ถังผสมชนิดที่มี                                ปริมาณจุลินทรีย์ที่อนุญาตให้มีอยู่ส�าหรับอาหารแต่ละประเภท เพื่อใช้ใน
             เครื่องชั่งในตัวหรือการติดตั้งหลอดแก้วเพื่อวัดระดับของเหลวข้างถัง โดยหากใช้ การก�าหนดอุณหภูมิและระยะเวลาในการพาสเจอร์ไรซ์ ซึ่งปัจจัยที่มีผลต่อ
             วิธีการปรับน�้าหนักสุดท้ายจากการวัดระดับของเหลว จ�าเป็นต้องมีการก�าหนด การเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ เช่น ค่า A  ค่า pH อุณหภูมิที่เก็บสินค้า
                                                                                                 w
             42 FOOD FOCUS THAILAND  NOV  2018


         42-43__Smart Production_Yamamori.indd   42                                                                 24/10/2561 BE   17:56
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47