Page 20 - FoodFocusThailand No.154 January 2019
P. 20

SPECIAL TALK BY FIRN











































              อาหารกับการกล่าวอ้างทางสุขภาพ

              ตามกฎหมายของประเทศไทย






              ในยุคปัจจุบันกระแสความตื่นตัวในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ                   ดร.ชนินทร์ เจริญพงศ์
              ได้ทวีความนิยมแพร่หลายเกือบทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย  ท�าให้                      Chanin Charoenpong, Ph.D.
                                                                                         Former Expert in Standards of Health Products,
              มีการพัฒนา คิดค้นอาหารและส่วนประกอบของอาหารในหลากหลายรูปแบบ                Food and Drug Administration
                                                                                         Advisory board,
              จากพืช สัตว์ สมุนไพร จุลินทรีย์ ตลอดจนสารสังเคราะห์ เพื่อใช้ประโยชน์       Food Science and Technology Association
                                                                                         of Thailand (FoSTAT)
              จากสารสกัดหรือสารส�าคัญในอาหารเหล่านี้ตามความคาดหวังของ                    chanin_th93@hotmail.com
              ผู้บริโภค  และมีการส่งเสริมการแข่งขันทางการตลาดและสร้างจุดขาย
              โดยการกล่าวอ้างสรรพคุณ คุณประโยชน์ ประสิทธิผลต่อร่างกายของ

              ผลิตภัณฑ์อาหารเหล่านี้  เช่น  ช่วยในการขับถ่าย  ช่วยลดปริมาณ
              คอเลสเตอรอล ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ช่วยควบคุมความดัน เป็นต้น


                 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคและสนองตอบความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง ส�านักงานคณะ  ในสาระส�าคัญ
              กรรมการอาหารและยา (อย.) จึงได้ออกประกาศก�าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข  ในการขออนุญาตจ�าเป็นต้องมีเอกสารหลักฐานทาง
              ในการกล่าวอ้างทางสุขภาพ (Health claim) ส�าหรับอาหารต่างๆ โดยอ้างอิงมาตรฐาน  วิทยาศาสตร์ (Scientific evidence) มาประกอบการพิจารณา
              ระหว่างประเทศ อาหารที่จะกล่าวอ้างทางสุขภาพต้องขออนุญาตกล่าวอ้างต่อ อย.             เอกสารหลักฐานนี้ต้องมีความถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ และ
              เสียก่อน จึงจะโฆษณากล่าวอ้างได้ มิฉะนั้นจะมีความผิดตาม พ.ร.บ.อาหาร ฐาน              น่าเชื่อถือ โดยเฉพาะการศึกษาในมนุษย์ที่มีการออกแบบอย่างดี
              แสดงสรรพคุณ คุณประโยชน์ของอาหารที่เป็นเท็จ เกินจริง หรือหลอกลวงให้เข้าใจผิด             (Well-designed human randomized controlled trial) ซึ่งต้อง




             20 FOOD FOCUS THAILAND  JAN  2019


         20-21_Special talk by FIRN.indd   20                                                                       21/12/2561 BE   10:54
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25