Page 27 - FoodFocusThailand No.154 January 2019
P. 27

SPECIAL FOCUS
                                                                                                         SPECIAL FOCUS

                  ตกผลึกและอัตราการลดอุณหภูมิที่ต่างกัน ท�าให้ได้ส่วนน�้ามันโอเลอินและ  การใช้ในอุตสาหกรรมหลังผ่านการแยกส่วน ตัวอย่างเช่น น�้ามันเมล็ดดอก-
                  ไขมันสเตียรินที่มีองค์ประกอบกรดไขมัน สมบัติการหลอมเหลว และปริมาณ  ทานตะวันกรดโอเลอิกสูง น�้ามันถั่วเหลืองกรดสเตียริกสูง เป็นต้น
                  ไขมันแข็งที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น การแยกส่วนน�้ามันปาล์ม ท�าให้ได้น�้ามัน  การท�าเจลน�้ามัน โดยการเติมสารก่อเจล (Gelator) ซึ่งอาจเป็นสารพอลิเมอร์
                  ปาล์มโอเลอิน (Palm olein) ไขมันปาล์มสเตียริน (Palm stearin) ไขมันปาล์ม            (Polymer-based gelator เช่น เอทิลเซลลูโลส) หรือแว๊กซ์ (Waxes-based
                  ส่วนกลาง (Palm mid fraction) น�้ามันปาล์มโอเลอินคุณภาพสูง (Palm super   gelator เช่น แว็กซ์ร�าข้าว แว๊กซ์คาร์นูบา เป็นต้น) ลงในน�้ามัน หลังการให้ความร้อน
                  olein) และไขมันปาล์มสเตียรินแข็ง (Palm hard stearin) เป็นต้น ซึ่งแต่ละ  และลดอุณหภูมิลงจะได้ของแข็งกึ่งเหลวที่มีโครงสร้างร่างแหแบบสามมิติ
                  ส่วนของน�้ามันปาล์ม เหมาะสมส�าหรับการใช้ในผลิตภัณฑ์ที่ต่างกัน                    กักน�้ามันเหลวไว้ภายใน มีสมบัติและลักษณะปรากฏคล้ายไขมันกึ่งแข็ง
                  การแยกส่วนน�้ามันเป็นกระบวนการทางกายภาพ ท�าได้ง่าย แต่อาจใช้เวลา  การท�าอิมัลชันโครงสร้าง เป็นการให้ความร้อนกับส่วนผสมของน�้ามันเหลว
                  นานในการตกผลึกไขมัน                                   สารลดแรงตึงผิวร่วม และโมโนกลีเซอไรด์อิ่มตัว (Saturated monoglycerides)
                     การผสมน�้ามัน เป็นการผสมระหว่างไขมันแข็ง (Hard fat) กับน�้ามันเหลว   ให้ละลายเข้ากันอย่างสมบูรณ์ หลังจากนั้นเติมส่วนผสมน�้ามันลงในน�้า พร้อมกับ
                  (Liquid oil) ในสัดส่วนที่เหมาะสม ซึ่งไขมันแข็งที่น�ามาใช้อาจเป็นน�้ามัน            การตีผสมให้น�้ามันแตกเป็นหยด เมื่อลดอุณหภูมิให้ต�่าลง จะได้ระบบอิมัลชัน
                  ที่ผ่านการเติมไฮโดรเจนเต็มส่วน (Fully hydrogenated oil) หรือไขมัน              ที่หยดน�้ามันเหลวถูกล้อมรอบด้วยโครงสร้างหลายชั้นของโมโนกลีเซอไรด์
                  สเตียรินที่ได้จากการแยกส่วน การผสมน�้ามันท�าได้โดยให้ความร้อน  ซึ่งระบบที่เกิดขึ้นจะให้ลักษณะและสมบัติที่คล้ายกับไขมันกึ่งแข็ง มีกรด
                  เพื่อหลอมไขมันแข็ง แล้วน�ามาผสมกับน�้ามันเหลว                    ไขมันอิ่มตัวต�่า และไม่มีกรดไขมันทรานส์ แม้เทคโนโลยีนี้
                  หลังจากนั้นลดอุณหภูมิตามสภาวะที่ควบคุม จะได้                         ยังค่อนข้างใหม่ แต่พบมีผลิตภัณฑ์ทางการค้าที่ได้รับการ
                  ไขมันกึ่งแข็ง (Semi-solid fat) ที่มีคุณสมบัติ                          รับรองความปลอดภัยต่อการบริโภค (Generally
                  ตามต้องการ ทั้งองค์ประกอบของกรดไขมัน                                     Recognized as Safe, GRAS) จากคณะกรรมการ
                  ปริมาณไขมันแข็ง รูปร่าง ขนาด และ                                          อาหารและยาของประเทศสหรัฐอเมริกาวาง
                  ชนิดของผลึกไขมัน ซึ่งการผสมน�้ามัน                                        จ�าหน่ายแล้ว ซึ่งสามารถใช้ทดแทนมาร์การีนที่
                  เป็นเทคโนโลยีที่อุตสาหกรรมนิยมใช้ใน                                        ผลิตจากน�้ามันที่ผ่านการเติมไฮโดรเจนบางส่วน
                  การผลิตไขมันทดแทนน�้ามันที่ผ่านการเติม                                     ในผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ได้ (Wang et al., 2016)
                  ไฮโดรเจนบางส่วนในปัจจุบัน เนื่องจาก                                          แม้เทคโนโลยีการผลิตทั้งหลายดังกล่าว
                  เป็นกระบวนการทางกายภาพ ท�าได้ง่าย                                        ข้างต้น สามารถใช้ทดแทนกระบวนการเติมไฮโดรเจน
                  ไม่ยุ่งยาก และค่าใช้จ่ายไม่สูง                                          บางส่วน และท�าให้กรดไขมันทรานส์ในอาหาร
                     อินเทอร์เอสเทอริฟิเคชัน เป็นปฏิกิริยา                              ลดลง แต่หลายเทคโนโลยี ได้แก่ การแยกส่วนน�้ามัน
                  ระหว่างกรดไขมันกับน�้ามัน หรือระหว่างน�้ามันสอง                    การผสมน�้ามัน  และการท�าปฏิกิริยาอินเทอร์เอสเทอริฟิเคชัน
                  ชนิดหรือมากกว่า เช่น ไขมันแข็งกับน�้ามันเหลว เป็นต้น           ท�าให้มีกรดไขมันอิ่มตัวเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพเช่นกัน
                  ท�าให้เกิดการปรับเปลี่ยนต�าแหน่งกรดไขมันภายในหรือระหว่างโมเลกุลของ  แม้จะน้อยกว่ากรดไขมันทรานส์ก็ตาม การพัฒนาเทคโนโลยีที่ท�าให้ได้ไขมัน
                  ไตรกลีเซอไรด์ในน�้ามัน ท�าให้ได้ไขมันกึ่งแข็งที่มีสมบัติการหลอมเหลว               กึ่งแข็งที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและดีสุขภาพ  จึงยังเป็นที่ต้องการของ
                  ที่เหมาะกับการใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ทั้งนี้ อินเทอร์เอสเทอริฟิเคชัน  อุตสาหกรรม ทั้งนี้การบริโภคอาหารที่มีไขมัน นอกจากต้องตระหนักถึงความ-
                  ต้องอาศัยตัวเร่งปฏิกิริยาหรือคะตะลิสต์ (Catalyst) ซึ่งอาจจะเป็นสารเคมี   สมดุลของชนิดกรดไขมัน กล่าวคือ ควรบริโภคกรดไขมันอิ่มตัวต่อกรดไขมัน
                  (Chemical interesterification) หรือเอนไซม์ (Enzymatic interesterification)   ไม่อิ่มตัวต�าแหน่งเดียวต่อกรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายต�าแหน่งในอัตราส่วน
                  ไขมันที่ได้จากอินเทอร์เอสเทอริฟิเคชันอาจน�าไปท�าการแยกส่วนต่อ เพื่อให้  ปริมาณเท่ากับ 1:1:1 แล้ว ต้องค�านึงถึงปริมาณไขมันรวมด้วย ซึ่งส�าหรับ
                  มีสมบัติเฉพาะและมีความบริสุทธิ์สูงขึ้น การเลือกชนิดและสัดส่วนไขมันแข็ง  คนไทยแนะน�าไม่ควรบริโภคไขมันรวมเกินวันละ 65 กรัม รวมถึงควรบริโภค
                  กับน�้ามันเหลวตั้งต้น ชนิดและปริมาณตัวเร่ง และสภาวะในการท�าปฏิกิริยา   น�้าตาลและโซเดียมในปริมาณที่พอเหมาะเพื่อสุขภาพที่ดี
                  เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อสมบัติของไขมันกึ่งแข็งที่ได้ ปฏิกิริยาอินเทอร์เอสเทอริ-
                  ฟิเคชันเป็นเทคโนโลยีที่ซับซ้อนกว่าการแยกส่วนและการผสมน�้ามัน มีค่าใช้จ่าย         เอกสารอ้างอิง/References
                  สูงกว่า แต่ได้ไขมันกึ่งแข็งที่มีสมบัติเฉพาะ ปัจจุบันจึงมีการใช้เทคโนโลยีนี้  Kodali, D. R. 2014. Trans Fats Replacement Solutions. AOCS Press, Urbana, IL.
                  ในการผลิตไขมันกึ่งแข็ง มาร์การรีน และเนยขาวทางการค้าเพิ่มมากขึ้น  List, G. R. 2014. Trans fat replacements: a global overview. Lipid Technology, 26(6):
                                                                          131-133.
                     การปรับปรุงพันธุ์และดัดแปรพันธุกรรมพืชน�้ามัน เพื่อเปลี่ยนแปลง  Tarrago-Trani, M. T., Phillips, K. M., Lemar, L. E. and Holden, J. M. 2006. New and
                                                                          existing oils and fats used in products with reduced trans-fatty acid content. Journal
                  การสังเคราะห์กรดไขมันในเซลล์พืช ให้ได้น�้ามันที่มีกรดไขมันตามต้องการ     of the American Dietetic Association, 106(6): 867-880.
                                                                        Wang, F. C., Gravelle, A. J., Blake, A. I. and Marangoni, A. G. 2016. Novel trans fat
                  เช่น การยับยั้งการสังเคราะห์กรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายต�าแหน่ง และการ-    replacement strategies. Current Opinion in Food Science, 7: 27-34
                  เหนี่ยวน�าให้เกิดการสังเคราะห์กรดไขมันอิ่มตัว เป็นต้น ท�าให้น�้ามันพืชมี  Weggemans, R. M., Rudrum, M. and Trautwein, E. A. 2004. Intake of ruminant versus
                                                                          industrial trans fatty acids and risk of coronary heart disease-what is the evidence?
                  ความคงตัวต่อการเกิดออกซิเดชัน และมีปริมาณไขมันแข็งที่เหมาะสมกับ    European Journal of Lipid Science and Technology, 106: 390-397.


                                                                                                   JAN  2019
                                                                                                   JAN  2019 FOOD FOCUS THAILANDFOOD FOCUS THAILAND  27 27

         26-28_Special Focus-Ku.indd   27                                                                           21/12/2561 BE   10:35
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32