Page 52 - FoodFocusThailand No.155_February 19
P. 52
SCOOP
SCOOP
นโยบาย…เก็บภาษีความเค็ม
โซเดียมเป็นภัยเงียบใกล้ตัว…เปรียบได้เหมือนการสะสมความตายแบบผ่อนส่ง นอกจากอาการป่วยที่จะสร้างความล�าบาก
ในการใช้ชีวิตแล้ว ยังเป็นภาระทางการเงินระยะยาวที่ต้องแบกรับ ซึ่งประเทศไทยมีสถิติผู้ป่วยที่ต้องล้างไตเพิ่มขึ้นทุกปี
คนไทยกินเกลือ (โซเดียม) สูงถึง 4,351 มิลลิกรัมต่อวัน หรือมากกว่า 2 เท่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
ของความต้องการของร่างกาย ปัจจุบันคนไทยป่วยเป็นโรคไตวายเรื้อรัง Dr.Surasak Kantachuvesiri
Division of Nephrology
สูงถึง 7,600,000 คน เสียชีวิตด้วยภาวะหัวใจวายจากโรคหัวใจและหลอดเลือด Department of Medicine
ปีละเกือบ 40,000 คน หรือวันละ 108 คน เป็นโรคอัมพฤกษ์อัมพาต Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital
Mahidol University
มากกว่า 500,000 คน Chairman of the Low Salt Thailand Network
ที่ผ่านมา ประเทศไทยมีมาตรการในการรณรงค์ให้คนไทยลดการบริโภค
เค็ม อย่างเช่น การมีฉลากโภชนาการ บอกค่าพลังงาน น�้าตาล ไขมัน และ
โซเดียม แต่ก็ยังไม่ได้ผลเท่าที่ควร จึงขอเสนอนโยบายเก็บภาษีความเค็ม โดยให้เหตุผลว่า ราคาสูง (ร้อยละ 80) และห่วงสุขภาพ (ร้อยละ 20)
โดยเริ่มต้นจากสินค้าประเภทบะหมี่กึ่งส�าเร็จรูป โจ๊ก ขนมกรุบกรอบ ทุกประเภท 3. ยอดขายในผลิตภัณฑ์ที่ถูกเก็บภาษีลดลงร้อยละ 27
เป็นอันดับแรก เนื่องจากมีปริมาณโซเดียมสูงมาก 4. ภาคอุตสาหกรรมมีการปรับสูตรอาหารเพื่อลดภาษี
5. ผลของภาษีมีผลต่อการบริโภคน�้าตาลและเกลือของประชาชน
การใช้นโยบายเก็บภาษี หวาน-เค็ม ในต่างประเทศ โดยเฉพาะคนที่บริโภคปริมาณสูงอยู่ก่อน
• ประเทศฮังการี
เริ่มประกาศใช้ในปี 2554 เก็บภาษี หวาน-เค็ม เช่น เครื่องดื่มที่มีน�้าตาล
ขนมขบเคี้ยว เครื่องปรุงรส จากการประเมินผลในปี 2556 รัฐเก็บภาษีได้
2,300 ล้านบาทต่อปี
ผลที่เกิดขึ้น
1. เพิ่มการรับรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภค
2. ประชาชนลดการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีผลเสียต่อสุขภาพ ร้อยละ 20-35
52 FOOD FOCUS THAILAND FEB 2019
52-53_Scoop_Less Salt.indd 52 22/1/2562 BE 15:00