Page 49 - FoodFocusThailand No.155_February 19
P. 49

SPECIAL REPORT

                ถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างกัน และแนวทางตามพื้นที่ หรือ Area-based กระทรวง-  นอกจากการน�าเครื่องจักรแปรรูปอาหารเข้ามาใช้ในการวิจัยและการทดลองแล้ว
                อุตสาหกรรมได้เน้นกระจายความร่วมมือให้เกิดขึ้นในระดับท้องถิ่นสู่ท้องถิ่น หรือ   ยังได้จัดให้มีการสัมมนาแนะน�าเทคโนโลยีอาหารแปรรูปในจังหวัดมิเอะด้วย การเปิด
                Local to Local โดยได้ก�าหนดไว้ 2 พื้นที่ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดสงขลา ศูนย์นวัตกรรมฯ   ศูนย์ฯ และการรับมอบเครื่องจักรแปรรูปอาหารเป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมการ-
                จะเชื่อมโยงกับ ศูนย์ ITC 4.0 ของสถาบันอาหาร ที่ตั้งอยู่ ณ จังหวัดสงขลา และพื้นที่  แลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจระหว่างไทยและจังหวัดมิเอะ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
                จังหวัดเชียงใหม่จะมีการเชื่อมโยงการท�างานศูนย์นวัตกรรมฯ กับการด�าเนินงาน  อุตสาหกรรมทั้งของไทยและจังหวัดมิเอะจะเติบโตก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นไป”
                โครงการ Northern Food Valley โดยจะมีความร่วมมือกับทางจังหวัดมิเอะด้าน      นายยงวุฒิ เสาวพฤกษ์ ผู้อ�านวยการสถาบันอาหาร กล่าวว่า ศูนย์นวัตกรรม
                การพัฒนา Lanna Matsusaka Beef ความร่วมมือในด้านเทคโนโลยี Medical and   จังหวัดมิเอะ-ประเทศไทย ได้รับการอนุเคราะห์จากบริษัท SUEHIRO EPM ประเทศ
                Bio-Technology และความร่วมมือเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม   ญี่ปุ่น มอบเครื่องจักรแปรรูปอาหารมูลค่า 25 ล้านเยน มาติดตั้งเพื่อรองรับงานวิจัย
                   2) ยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร ในด้านการพัฒนาบุคลากรนี้จะด�าเนินการ  ทดลองพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โดยมุ่งเน้นใช้วัตถุดิบของไทย เช่น การน�าข้าวหอม-
                โดยส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ร่วมกับกรมส่งเสริม  มะลิของไทยมาแปรรูป โดยวิจัยเพื่อผลิตสินค้าเชิงพาณิชย์ และให้บริการแก่
                อุตสาหกรรม ในการพัฒนาบุคลากรระดับ Leader ในภาคการผลิต โดยจะน�า  ผู้ประกอบการที่ต้องการทดลองผลิตสินค้าต้นแบบ ขณะนี้อยู่ระหว่างการทดสอบ
                หลักสูตรของ Mie Industry and Enterprise Support Center (MIESC) มาปรับใช้   เครื่องและถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่นักวิชาการของสถาบันอาหาร เริ่มเดินเครื่องเมื่อ
                   3) ยุทธศาสตร์การส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างอุตสาหกรรมของทั้ง 2   เดือนธันวาคม 2561 ที่ผ่านมา โดยทีมนักวิชาการจะท�าการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์
                ฝ่าย จะเน้นด้านการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการ (Business networking) เพื่อ             จากการใช้เครื่องจักรนี้ และทีมงานจากบริษัทฯ จะมาติดตามความคืบหน้าการ-
                ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างกัน โดยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยและ  ทดลองเป็นระยะจนถึงเดือนมีนาคม 2562 ทั้งนี้ เครื่องจักรแปรรูปอาหารดังกล่าวเป็น
                หอการค้าไทยจะเข้ามามีส่วนร่วมกับการสร้างเครือข่ายนี้ด้วย  เครื่อง Twin screw extruder รุ่น EA-20 มีก�าลังการผลิต 20 กิโลกรัม/ชั่วโมง สามารถ
                   “กระทรวงอุตสาหกรรมคาดว่า ศูนย์นวัตกรรมจังหวัดมิเอะ-ประเทศไทย จะช่วย  ใช้ส�าหรับแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น ผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยว ประเภทข้าวโพด
                พัฒนาบุคลากรในภาคอุตสาหกรรม สร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการไทยสามารถเข้า  อบกรอบ และข้าวอบกรอบ เป็นต้น
                ถึงเทคโนโลยี งานวิจัย และนวัตกรรมที่เหมาะสม ที่จะช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า  “ศูนย์นวัตกรรมจังหวัดมิเอะ-ประเทศไทย เป็นเครื่องมือและกลไกในการเพิ่ม
                และบริการ และยกระดับอุตสาหกรรมอาหารของประเทศให้เป็นผู้น�าในระดับสากล  ศักยภาพด้านนวัตกรรมอาหารของประเทศ ผ่านกิจกรรมการบริการและศูนย์การ-
                ได้ในอนาคต หากโมเดลต้นแบบนี้ประสบผลส�าเร็จ และมีการขยายเครือข่ายศูนย์  เรียนรู้ในด้านต่างๆ เช่น การฝึกอบรมเพิ่มทักษะให้กับผู้ประกอบการ การพัฒนา
                นวัตกรรมในรูปแบบเดียวกันไปสู่เชิงพื้นที่จะเกิดผลกระทบในเชิงรูปธรรมมากขึ้น   ผลิตภัณฑ์ต้นแบบนวัตกรรม การวิจัยนวัตกรรมร่วม การเชื่อมโยงธุรกิจ เป็นต้น
                เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของสถาบันอาหาร และสนองตอบแนวทางการยกระดับ  ผู้รับประโยชน์โดยตรง คือ กลุ่มผู้ประกอบการอาหารในอุตสาหกรรมกลางน�้า
                นวัตกรรมของประเทศตามโรดแมพไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาลที่วางไว้”  โดยเฉพาะ SMEs ที่ยังขาดศักยภาพในเชิงทักษะการผลิต รวมทั้งองค์ความรู้ในการ-
                   นายเอเค ซูซูกิ ผู้ว่าราชการจังหวัดมิเอะ กล่าวว่า จากความร่วมมือในครั้งนี้ ทาง  พัฒนาสินค้านวัตกรรม”
                สถาบันอาหารจะได้รับมอบเครื่องจักรส�าหรับแปรรูปอาหารจากบริษัท SUEHIRO   ทั้งนี้ กลุ่มที่จะได้รับประโยชน์ในชั้นแรกจากเครื่องจักรดังกล่าว คือ กลุ่ม
                EPM เป็นเครื่องเอ็กซ์ทรูเดอร์ (เครื่องขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ชนิดรีดขึ้นรูป) เป็นเครื่องจักร  ผู้ประกอบการผลิตอาหารจากแป้ง ข้าว และธัญพืช ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักที่ต้องการ
                ที่ผลิตในประเทศญี่ปุ่นและมีส่วนแบ่งการตลาดเป็นอันดับหนึ่ง มีประสิทธิภาพใน  การพัฒนาอีกมาก เนื่องจากเป็นวัตถุดิบที่ไทยผลิตได้มาก แต่ยังขาดการแปรรูป
                การท�างานที่หลากหลายภายในเครื่องเดียว เช่น การผสม การขึ้นรูป เป็นต้น เรียก  เพิ่มมูลค่าในเชิงพาณิชย์ ขณะที่ผู้รับประโยชน์ทางอ้อม คือ เกษตรกรต้นน�้า ซึ่งหาก
                ได้ว่าเป็นโครงการความร่วมมือทางเทคโนโลยีครั้งแรกในด้านการแปรรูปอาหาร         มีการขยายตัวของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป โดยเฉพาะในกลุ่มผลิตภัณฑ์อาหาร
                ตามบันทึกข้อตกลงระหว่างบีโอไอและทางจังหวัดมิเอะ        นวัตกรรมต่างๆ ก็จะมีความต้องการวัตถุดิบที่ดีและมีคุณภาพตามมา เกษตรกรที่
                   “การจัดตั้งศูนย์นวัตกรรมจังหวัดมิเอะ-ประเทศไทย ก็เพื่อแนะน�าเทคโนโลยีทาง  สามารถมองเห็นลู่ทางและโอกาสดังกล่าวก็จะสามารถวางแผนการผลิตและพัฒนา
                ด้านการแปรรูปอาหารของจังหวัดมิเอะให้กับผู้ประกอบการไทย และเพื่อสนับสนุน  สินค้าเกษตรของตนให้ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ส�าหรับกลุ่ม
                ความร่วมมือกันระหว่างผู้ประกอบการไทยกับผู้ประกอบการจากจังหวัดมิเอะ ซึ่ง  ผู้ประกอบการปลายน�้า เช่น ร้านค้า ผู้บริโภค ก็จะมีสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐานเพื่อ
                                                                       เป็นทางเลือกมากขึ้น


                When it comes to food trading, Japan is Thailand’s No.1 trading partner.
                On the other hand, Thailand is Japan’s 4  top trader. In the past 3-4 years,
                                                       th
                Thailand averagely exports 13.3% of its food to the Japan, which accounts
                for 6.4% of what’s imported by the island country.



                 Mie-Thailand Innovation Center:

                 A Cooperation to Enhance Food Processing Technology


                    The food trade between the 2 countries is worth THB 145 billion.   predicted that in 2019, food exports from Thailand should expand
                 In 2017, Thailand exported to Japan in value of THB 135.3 billion and   around 8% to THB 140 billion.
                 imported THB 9.8 billion, making the country enjoys the trade profit   The MOU signed between BOI and Mie Prefecture, which was the
                 of THB 125.5 billion. In 2018, it is speculated that Thailand has exported   first technological cooperation in food processing, has resulted in the
                 no less than THB 130 billion, relatively similar to 2017. However, it is   establishment of Mie-Thailand Innovation Center at Thailand’s National
                                                                                                                         49
                                                                                                   FEB  2019 FOOD FOCUS THAILAND
         48-50_Special Report_Mie.indd   49                                                                          22/1/2562 BE   15:21
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54