Page 74 - FoodFocusThailand No.159 June 2019
P. 74
SURF THE AEC
SURF THE AEC
ประเทศไทยมีเส้นทางสายไหมที่เรียกว่าระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North- และอาเซียนเป็นจักรกลส�าคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่ประเทศไทย
South Economic Corridor; NSEC) และตะวันออก-ตะวันตก (East-West มีข้อเด่นในการเป็นจุดเชื่อมโยงระหว่างเศรษฐกิจใหญ่อย่างจีน อินเดีย
Economic Corridor; EWEC) เชื่อมโยงกับเส้นทางสายไหมของจีนที่ต่อไปยัง และอาเซียน
ยุโรป แอฟริกา และตะวันออกกลาง และท�านองเดียวกันก็เชื่อมโยงไทยกับ เส้นทางสายไหมทางบกของจีนที่เน้นด้านการขนส่งทางรถไฟนั้น ปัจจุบัน
ระเบียงเศรษฐกิจอินเดียที่สามารถทะลุไปยังอ่าวเปอร์เซียโดยผ่านท่าเรือ รถไฟจีนสามารถส่งสินค้าจีนสู่ประเทศรายทางในเส้นทางสายไหม เช่น
มุมไบได้ อีกทั้งไทยยังมีโครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก EEC ที่จะ คาซัคสถาน รัสเซีย เบลารุส โปแลนด์ เยอรมนี เบลเยียม ฝรั่งเศส และสิ้นสุด
เป็นฐานการผลิตให้กับนักลงทุนทั่วโลก เพื่อกระจายสินค้าไปสู่ประเทศใน ที่กรุงลอนดอนได้แล้ว โดยเส้นทางนี้ยังได้แยกไปเชื่อมกับเอเชียใต้และ
เส้นทางสายไหม เช่น จีน อินเดีย ยุโรป และอาเซียนได้โดยใช้เวลาไม่มาก ตะวันออกกลางด้วย ส่วนทางใต้ก็ตัดตรงมาถึงพรมแดนจีน-ลาว และ
นอกจากนั้น ความเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลกยังเกื้อกูลต่อการเป็น ในอนาคตจะเชื่อมมาถึงไทยและอาเซียน ซึ่งจะส่งผลให้สินค้าไทยสามารถ
จุดยุทธศาสตร์ส�าคัญด้านการค้าโลกของไทยด้วย ในปัจจุบันพลวัตทางเศรษฐกิจ กระจายสู่ 64 ประเทศบนเส้นทางสายไหมจีน ซึ่งมีประชากรราว 4,400 ล้านคน
มีแนวโน้มเคลื่อนตัวมาทางเอเชียมากขึ้นเป็นล�าดับ โดยธนาคารเพื่อการพัฒนา มากกว่าครึ่งหนึ่งของโลก และมีสัดส่วน GDP ราวร้อยละ 40 ของโลก
แห่งเอเชีย (Asian Development Bank; ADB) คาดการณ์ว่าในอีก 3 ทศวรรษ
ข้างหน้าจะเป็นยุคทองของเอเชีย (Asian Century) โดย ADB ได้ประมาณ- โอกาสใหม่บนเส้นทางสายไหม
การณ์ว่าในปี 2593 สัดส่วน GDP ของเอเชียจะมีขนาดร้อยละ 52 ของ GDP ประเด็นที่น่าสนใจของจีนในเวลานี้ คือ เมืองที่มีเศรษฐกิจร้อนแรงบนรายทาง
โลก (เทียบกับปัจจุบันที่เอเชียมีสัดส่วนร้อยละ 32) ทั้งนี้ คาดว่าเอเชีย- เส้นทางสายไหม ซึ่งสามารถเป็นตลาดและแหล่งเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทาน
ตะวันออก อินเดีย และอาเซียน จะมีสัดส่วนมากกว่าเอเชียอื่นๆ โดยมีจีน อินเดีย กับไทยได้ อาทิ
เส้นทางสายไหมประเทศไทย:
ปักหมุดไทยบนเวทีโลก
ทางสายไหมประเทศไทยก้าวล�้าน�าไทยขึ้นแท่นเป็นจุดยุทธศาสตร์ส�าคัญ เชื่อมการค้าไทยกับจีน อินเดีย
อาเซียน และทั่วโลก พร้อมทั้งพลิกโฉมประเทศไทยสู่ฐานการผลิตที่ส�าคัญอีกแห่งหนึ่งของโลก
ดร.ไพศาล มะระพฤกษ์วรรณ
Paisan Maraprygsavan, Ph.D.
Director
Industrial and Service Trade Research Division
Trade Policy and Strategy Office
Ministry of Commerce
paisan711@gmail.com
74 FOOD FOCUS THAILAND JUNE 2019