Page 79 - FoodFocusThailand No.162 September 2019
P. 79

SURF THE AEC


                     •  การที่เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขัดกับหลักศาสนาอิสลาม ส่งผลให้ยอดขาย  0.1 ของมูลค่าส่งออกสินค้าอาหารทั้งหมด ดังนั้น ภาครัฐบาลควรผลักดัน
                  ต�่า แต่กลับสร้างโอกาสมหาศาลแก่สินค้าน�้าดื่มและเครื่องดื่มประเภทอื่นๆ   การท�าตลาดฮาลาล โดยเริ่มต้นจากตลาดอินโดนีเซียซึ่งถือเป็นตลาดภายใน
                     •  ตลาดอาหารฮาลาลอินโดนีเซียมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยมีการน�าเข้า    ก่อนก้าวสู่โลกมุสลิมอื่นๆ ต่อไป
                  ถึง 169.7 พันล้านเหรียญสหรัฐในแต่ละปี เติบโตร้อยละ 7 ต่อปี โดยใหญ่           •  ฮาลาลมิได้จ�ากัดอยู่เฉพาะด้านอาหารเท่านั้น ยังครอบคลุมด้าน
                  เป็นอันดับ 1 ของโลก รองลงมาเป็น ตุรกี ปากีสถาน อียิปต์ บังกลาเทศ อิหร่าน   การท่องเที่ยว การรักษาพยาบาล และเครื่องแต่งกาย เป็นต้น ดังนั้น การผลักดัน
                  และซาอุดิอาระเบีย ตามล�าดับ (ที่มา: The International Market Analysis   ให้เครื่องหมายฮาลาลไทยเป็นที่ยอมรับในอินโดนีเซียจะมีส่วนช่วยในการขยาย
                  Research and Consulting; IMARC)                       แบรนด์ไทยสู่สินค้าตัวอื่นของไทยได้อีกด้วย
                     •  ตลาดฮาลาลมิได้จ�ากัดอยู่เฉพาะด้านอาหาร แต่ยังหมายรวมถึง                  •  อีคอมเมิร์ซก�าลังก้าวเข้ามาแทนที่ห้างสรรพสินค้าในอินโดนีเซียเช่นเดียวกับ
                  การศึกษา แฟชั่น เครื่องส�าอาง ยา กิจกรรมสันทนาการ การท่องเที่ยว วัฒนธรรม   ในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ทั่วโลก จึงจ�าเป็นที่ผู้ส่งออกจะพิจารณาเลือกใช้
                  สุขภาพ และการเงินการธนาคาร ซึ่งล้วนเป็นสาขาที่ไทยมีความเชี่ยวชาญ   ช่องทางดังกล่าวมากขึ้น
                     •  ราคา (ถูก) ยังเป็นปัจจัยส�าคัญในการตัดสินใจซื้อของคนอินโดนีเซีย  •  การจ�ากัดการจ�าหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กลับสร้างโอกาสให้กับสินค้า
                                                                        ทดแทน เช่น น�้าผลไม้ และเบียร์ไร้แอลกอฮอล์ ผู้ส่งออกจึงไม่ควรมองข้ามโอกาสนี้
                  อุปสรรค                                                  •  ข้อจ�ากัดเรื่องห้องเย็นท�าให้ผู้ส่งออกต้องออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ไม่ต้อง
                     •  อินโดนีเซียตั้งเป้าเป็นคลังอาหารระดับโลกภายในปี 2588  และมุ่งมั่น  พึ่งพาห้องเย็น
                  ที่จะพึ่งพาตนเองในด้านอาหาร เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการภายในประเทศ
                  โดยไม่ต้องมีการน�าเข้า ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อภาคการส่งออกสินค้าเกษตร
                  ของไทยในอนาคต (ที่มา: สถาบันอาหาร)
                     •  การเข้าสู่ตลาดเครื่องดื่มน�้าอัดลมค่อนข้างยาก เนื่องจากมีการแข่งขัน
                  ที่รุนแรง กดดันให้มีการตัดราคากันมากขึ้น และก�าไรลดลง
                     •  รัฐบาลห้ามขายเบียร์ในร้านสะดวกซื้อ ตั้งแต่เดือนเมษายน 2558 อีกทั้ง
                  ยังมีกระแสเรียกร้องให้มีการจ�ากัดการผลิตให้มากขึ้น
                     •  ห้างสรรพสินค้าและค้าปลีกในอินโดนีเซียเผชิญกับความท้าทายมากขึ้น
                  โดยหลายแห่งต้องปิดตัวลง อันเนื่องมาจากการเติบโตของอีคอมเมิร์ซ


                  แนวทางการปรับตัว
                     •  สินค้าอาหารของไทยที่ส่งไปอินโดนีเซียยังจ�ากัดอยู่ในกลุ่มสินค้าเกษตร
                  พื้นฐานเป็นหลัก เช่น น�้าตาล ข้าว มันส�าปะหลัง และผลไม้ ขณะที่ผู้บริโภคให้
                  ความส�าคัญกับอาหารแปรรูป อาทิ อาหารพร้อมปรุง/พร้อมรับประทานมากขึ้น
                  เนื่องจากคนรุ่นใหม่ต้องใช้ชีวิตที่เร่งรีบ
                     •  นโยบายพึ่งพาตนเองด้านอาหารปี 2588 อาจส่งผลกระทบต่อการ-
                  ส่งออกอาหารของไทยในอนาคตที่อาจมีการออกมาตรการใหม่ๆ มาปกป้อง
                  ผู้ผลิตในประเทศ ขณะที่ความภักดีในแบรนด์ในปัจจุบันยังต�่า สินค้าอาหารไทย
                  จึงควรเร่งเข้าไปท�าตลาดเพื่อสร้างแบรนด์ไทย ก่อนที่จะก้าวไปสู่ผู้ผลิต/แปรรูป
                  ในอินโดนีเซียต่อไป
                     •  ผลิตภัณฑ์อาหารไทยมีจุดเด่นในเรื่องของตราสินค้าและคุณภาพสินค้า
                  ตลอดจนบรรจุภัณฑ์ที่โดดเด่น จึงท�าให้เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค และสามารถ
                  แข่งขันด้านราคาจากประเทศอื่นๆ ในอาเซียน ทั้งยังมีข้อได้เปรียบในเรื่อง
                  ต้นทุนโลจิสติกส์ แต่ควรปรับปรุงด้านการรับรองเครื่องหมายฮาลาลให้เป็น
                  ที่ยอมรับ เพราะในปัจจุบันอินโดนีเซียยอมรับมาตรฐานฮาลาลของมาเลเซีย
                  มากกว่าของไทย เนื่องจากเป็นประเทศมุสลิมเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ ทางสถาบัน-
                  อาหาร และส�านักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย จะร่วมกัน
                  ผลักดันให้มาตรฐานฮาลาลของไทยเป็นที่ยอมรับในอินโดนีเซียต่อไป
                     •  ตลาดอาหารฮาลาลถือเป็นโอกาสทองของผู้ประกอบการไทยในการ-
                  สร้างรายได้เพิ่มขึ้น เพราะมีมูลค่าตลาดสูงถึง 6-8 ล้านล้านบาทต่อปี ขณะที่
                  ประเทศไทยมีการส่งออกอาหารฮาลาลในสัดส่วนน้อยมาก คิดเป็นเพียงร้อยละ


                                                                                                   SEP  2019 FOOD FOCUS THAILAND  79


         82-84_Surf the AEC.indd   79                                                                                22/8/2562 BE   14:26
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84