Page 81 - FoodFocusThailand No.162 September 2019
P. 81
STRENGTHEN THE PACKAGING
ในบัจจุบันเรื่องอาหารปลอดภัยนั้นได้รับความสนใจจากผู้บริโภค การเลือกชนิดของบรรจุภัณฑ์
ที่ชาญฉลาดมากขึ้น และสิ่งที่นอกเหนือจากความปลอดภัย พลำสติก - พลาสติกที่ใช้ในการบรรจุอาหารหรือต้องสัมผัสกับอาหารต้องปลอดภัย
อาหารก็คือบรรจุภัณฑ์ที่น�ามาบรรจุอาหารซึ่งมีความส�าคัญ ต่อผู้บริโภค โดยสามารถสังเกตจากตัวเลขที่อยู่ในสัญลักษณ์ โดยทั่วไปมักจะอยู่ด้านล่าง
ไม่แพ้กัน หากว่าอาหารปลอดภัยแต่น�ามาบรรจุด้วยบรรจุภัณฑ์ ของภาชนะหรือบรรจุภัณฑ์ ตัวเลขต่างๆ แสดงถึงวัสดุที่ใช้จัดท�าบรรจุภัณฑ์นั้นๆ
ที่ไม่ปลอดภัยก็จะท�าให้เกิดโอกาสปนเปื้อนกลายเป็นอาหาร ดังต่อไปนี้
พลาสติกทั่วไปถือว่าปลอดภัยส�าหรับอาหารและเครื่องดื่ม ได้แก่ #2 HDPE
ที่ไม่ปลอดภัยได้ (พลาสติกชนิดความหนาแน่นสูง) #4 LDPE (พลาสติกชนิดความหนาแน่นต�่า)
บรรจุภัณฑ์อาหารฟู้ดเกรด คืออะไร #5 PP (Polypropylene)
บรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุอาหารที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค สามารถสัมผัส ขวดน�้าพลาสติกหรือภาชนะเครื่องดื่มคือ #1 PETE (Polyethylene Terephthalate)
อาหารได้โดยตรง ไม่ก่อให้เกิดการถ่ายโอนของสารเคมี เช่น การแพร่กระจายของ น�้าทั่วไป โซดา และน�้าผลไม้ขวด ไม่ได้ออกแบบมาเพื่อน�ากลับมาใช้ใหม่ (Reuse)
สารเคมีจากบรรจุภัณฑ์ปนไปในอาหารในปริมาณที่เกินกฎหมายก�าหนด ทั้งยังเก็บ เนื่องจากอาจพบการสะสมของแบคทีเรีย ต้องท�าความสะอาดก่อนน�ากลับมาใช้ใหม่
รักษาคุณสมบัติของอาหารได้เป็นอย่างดี เช่น รสชาติ กลิ่น ความกรอบ และ (แต่ไม่แนะน�า)
คุณสมบัติอื่นๆ เป็นต้น ทั้งนี้ บรรจุภัณฑ์ฟู้ดเกรดไม่ได้หมายความว่าบรรจุภัณฑ์ พลาสติกที่มีความเสี่ยงไม่ปลอดภัยส�าหรับอาหารและเครื่องดื่มเหล่านี้อาจจะมี
นั้นสามารถรับประทานได้ ส่วนผสมที่เป็นอันตราย คือ #3 PVC (Polyvinyl Chloride) สารก่อมะเร็งในระหว่าง
การผลิตและการเผา #6 PS (Polystyrene) อาจจะมีสารก่อมะเร็ง #7 อื่น ๆ (โดยทั่วไป
คุณสมบัติของบรรจุภัณฑ์ฟู้ดเกรด จะหมายถึงสารโพลีคาร์บอเนต บางครั้งอาจใช้ป้ายสัญลักษณ์ว่า (PC) อาจตรวจพบ
1. เพียงพอส�ำหรับควำมปลอดภัยของอำหำร บรรจุภัณฑ์ที่ดีนอกจาก สาร BPA (Bisphenol-A) ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งเช่นกัน
ตามฟังก์ชันการใช้งาน อาทิ การป้องกัน การจัดเก็บ การโหลด การขนส่ง การขาย อย่างไรก็ตาม ชนิดพลาสติกที่ปลอดภัยส�าหรับอาหาร ตามข้อก�าหนด 21CFR177
การตลาด และการบริการแล้ว หากเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้เพื่อสัมผัสอาหารโดยตรง สามารถสรุปได้ ดังนี้
สิ่งที่ต้องใส่ใจมากขึ้นนั้นคือความปลอดภัยของบรรจุภัณฑ์ที่จะไม่ส่งผลเสียไม่ว่า • ใช้ได้อย่างเหมาะสมภายใต้มาตรฐาน GMP
จะเป็นผลต่อสุขภาพหรือคุณภาพของอาหารเอง • ไม่รั่วไหลหรือละลายโดยวิธีการทดสอบที่เหมาะสมกับพลาสติก
2. ควำมเหมำะสมกับประเภทกำรใช้งำน ข้อก�าจัดบางประการของอาหาร • ไม่ประกอบด้วยวัสดุหรือสารอันตรายเกินขีดจ�ากัด เช่น โลหะหนัก
บางประเภทมีผลต่อการเลือกวัสดุที่มาใช้ท�าบรรจุภัณฑ์ เช่น อาหารที่มีความเป็น • ไม่ปนเปื้อนพื้นฐาน เช่น ทางด้านจุลชีววิทยา
กรด ด่าง มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ อาหารมีน�้ามันสูง อาหารที่ต้องแช่เยือกแข็ง • ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนไปกับอาหารจากภายนอกบรรจุภัณฑ์ ภายใต้เงื่อนไข
อาหารที่ต้องอุ่นร้อนด้วยไมโครเวฟ อาหารที่บรรจุขณะร้อน เป็นต้น เนื่องจากวัสดุ ที่ก�าหนดของบรรจุภัณฑ์ชนิดนั้นๆ
บางอย่างไม่เหมาะสมกับอาหารที่เป็นกรด รวมถึงตะกั่วในเซรามิค โลหะชุบสังกะสี
ทองแดงและโลหะผสมทองแดง
Food Grade
Packaging
บรรจุภัณฑ์อาหารฟู้ดเกรด
ผำค�ำ แถมโฮง
Phakham Thaemhong
Client Manager / Auditor / Trainer
BSI Group (Thailand) Co., Ltd.
Phakham.thaemhong@bisgroup.com
SEP 2019
SEP 2019 FOOD FOCUS THAILANDFOOD FOCUS THAILAND 81 81