Page 83 - FoodFocusThailand No.162 September 2019
P. 83
STRENGTHEN THE PACKAGING
กลไกการดูดซับ (Sorption mechanism) (Hotchkiss
1977) ส�าหรับสารระเหยจะส่งผลต่อกลิ่นและรสชาติ เอกสารอ้างอิง/Reference
www.quora.com/How-is-food-grade-plastic-less-harmful-as-compared-to-normal-
plastic
ของอาหาร ในขณะที่สารประกอบที่ไม่ระเหย เช่น Matt Harbowy, Chemist (former PhD student, Chemistry, Cornell University, 1991-1993)
[IFT] Institute of Food Technologists. 1997. Edible and biodegradable polymer
ไขมันและเม็ดสีจะส่งผลต่อบรรจุภัณฑ์ (Tehrany and films: challenges and opportunities [IFT scientific status summary]. Krochta JM,
DeMulder-Johnston C, authors. Food Tech
Desobery 2004) Kirwan MJ, Strawbridge JW. 2003. Plastics in food packaging. In: Coles R,
McDowell D, Kirwan MJ, editors. Food packaging technology. London, U.K. :
2. ชนิดอาหาร เช่น อาหารแห้ง ความไวต่อแสง Blackwell Publishing, CRC Press.
Food Packaging—Roles, Materials, and Environmental Issues : KENNETHMARSH,
อาหารเหลว อาหารที่มีน�้ามันสูง อาหารที่มีความเป็น PH.D., AND BETTY BUGUSU, PH.D.
Arvanitoyannis IS, Bosnea L. 2004. Migration of substances from food packaging
กรดเป็นด่างสูง อาหารที่มีลักษณะรูปร่างพิเศษ หรือ materials to foods. Crit Rev Food Sci Nutr 44(3):63–76.
Hotchkiss JJ. 1997. Food-packaging interactions influencing quality and safety.
ลักษณะที่อาจเกิดความเสียหายเมื่อบรรจุด้วยวัสดุ Food Addit Contam 14(6-7):601–7.
www.thaifoodbusiness.com/news/1267768/food-grade
www.foodauthority.nsw.gov.au
บางชนิด เช่น การเกิดรู (Pin hole ของอลูมิเนียมฟอยล์) www.ec.europa.eu/food/safety/chemical_safety/food_contact_materials/legislation_
www.gbstandards.org/index/standards
อาหารบางชนิดต้องการรักษารสชาติ หากเลือกวัสดุไม่
เหมาะสมอาจท�าให้รสชาติหรือมีผลต่อสีของอาหาร
เปลี่ยนไป เช่น กระป๋องที่เคลือบหรือไม่เคลือบและ
แลคเกอร์ เป็นต้น
3. อุณหภูมิ อุณหภูมิมีส่วนส�าคัญในการเลือก
บรรจุภัณฑ์ทั้งในขั้นตอนกระบวนการผลิตอาหาร
การจัดเก็บ การบรรจุ หรือการน�าอาหารมาท�าให้ร้อน
(ด้วยไมโครเวฟ) วัสดุบางชนิดมีข้อจ�ากัดในการใช้งาน
ภายใต้อุณหภูมิที่แตกต่างกัน เช่น วัสดุ PS ไม่เหมาะ
ส�าหรับบรรจุขณะร้อน ขวด PET ไม่สามารถบรรจุ
ขณะร้อน (Hot fill) วัสดุบางชนิดสามารถเข้าไมโครเวฟ
ได้ เช่น ถาด PP การจัดเก็บแบบแช่แข็ง ก็ต้องมั่นใจ
ว่าบรรจุภัณฑ์นั้นสามารถท�าอุณหภูมิที่ต�่า (-18 �C)
เป็นต้น เพื่อให้บรรจุภัณฑ์นั้นยังคงปลอดภัยก็จ�าเป็น
ต้องเลือกให้เหมาะสมกับอุณหภูมินั้นๆ ด้วย
4. อายุการเก็บรักษา เช่น เงื่อนไขการจัดเก็บ
ความเป็นกรด-ด่างในอาหาร ค่า a ในอาหาร อาหาร
w
ชนิดเดียวกันหากบรรจุในบรรจุภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติ
การป้องกันต่างกันก็จะท�าให้อายุการจัดเก็บแตกต่างกัน
เช่น อาหารที่มีความเสี่ยงด้านการเหม็นหืนควรเลือก
บรรจุภัณฑ์ที่มีการป้องกันการซึมผ่านของกาศได้ดี
(OTR) ส่วนอาหารที่ต้องการความกรอบก็ต้องเลือก
บรรจุภัณฑ์ที่การซึมผ่านของไอน�้าได้น้อย (WTR) แต่
ผลิตภัณฑ์บางชนิดต้องการการซึมผ่านของก๊าชหรือ
อากาศได้ดี เช่น ผลไม้สด อาจจะต้องเลือกบรรจุภัณฑ์
ที่มีการซึมผ่านของก๊าชหรืออากาศได้ดี เป็นต้น
5. การน�ากลับมาใช้ซ�้าของบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์
บางชนิดออกแบบมาเพื่อใช้ครั้งเดียว เช่น ขวด PET
จึงไม่เหมาะที่น�ากลับมาใช้ซ�้า ในขณะที่บรรจุภัณฑ์
บางชนิดสามารถน�ามาใช้ซ�้าได้โดยผ่านการท�าความ-
สะอาดที่เหมาะสม เช่น ขวดแก้ว ถาดพลาสติกส�าหรับ
บรรจุไอศกรีมเหมาะส�าหรับการใช้ซ�้าในระยะเวลา
สั้นๆ ดังนั้นเพื่อป้องกันอันตรายหรือความไม่ปลอดภัย
ของอาหารจึงต้องพิจารณาจ�านวนครั้งในการน�ากลับ
มาใช้ซ�้า หลังจากผ่านการล้างด้วยความร้อนหรือผ่าน
สารเคมีท�าความสะอาดต่างๆ
SEP 2019 FOOD FOCUS THAILAND 83
81-85_Strength_BSI.indd 83 22/8/2562 BE 16:24