Page 18 - FoodFocusThailand No.143_February 2018
P. 18
SCIENCE & NUTRITION
SCIENCE & NUTRITION
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิพรรณ บุตรยี่
Asst.Prof. Chaniphun Butryee, Ph.D.
Institute of Nutrition
Mahidol University
chaniphun.but@mahidol.ac.th
Consuming At Least 400 Grams of
Fruits and Vegetables for Your Health
บริโภคผักผลไม้อย่างน้อย 400 กรัมต่อวันเพื่อสุขภาพ
การบริโภคผักและผลไม้อย่างน้อย 400 กรัมต่อวัน เป็นค�าแนะน�าขององค์การ 1. การจัดท�าตัวอย่างรายการอาหารประจ�าวันส�าหรับเมนูอาหารไทยและ
อาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ร่วมกับองค์การอนามัยโลก (WHO) ของว่าง โดยอ้างอิงข้อมูลจากหนังสือ กินเค็มน้อยลงสักนิด พิชิตโรคความดัน
ที่มีรายงานการวิจัยโดยท�าการวิเคราะห์แบบ Meta-analysis และก�าหนดเกณฑ์ (กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2557) และ 50 เมนูอาหารลดน�้าหนัก
การบริโภคผัก ผลไม้วันละ 400-600 กรัม เป็นปริมาณการบริโภคที่สามารถลด (รุ่งรัตน์ แจ่มจันทร์ และ ริญ เจริญศิริ, 2558) โดยเมนูแนะน�าเป็นอาหารไทย
ภาระโรคต่างๆ ได้แก่ หัวใจขาดเลือด (ร้อยละ 31) เส้นเลือดในสมองตีบ (ร้อยละ19) ที่ผู้บริโภคคุ้นเคยหรือมีการประยุกต์เพื่อเพิ่มปริมาณผักและผลไม้ให้ได้ตาม
ลดอัตราการป่วยและเสียชีวิตจากมะเร็งกระเพาะอาหาร (ร้อยละ 19) มะเร็งปอด เกณฑ์แนะน�า และมีการเผยแพร่ผ่านสื่อออนไลน์ในรูปแบบ Infographic
(ร้อยละ 12) มะเร็งล�าไส้ใหญ่ (ร้อยละ 2) FAO/WHO จึงก�าหนดการบริโภค ผักและ (https://goo.gl/QPweNP)
ผลไม้อย่างน้อย 400 กรัมต่อคนต่อวัน เพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคต่างๆ (WHO, 2003) 2. การจัดท�าเมนูอาหารฟิวชันเพื่อตอบสนองกระแสความนิยมของกลุ่ม
ทั้งนี้ปริมาณ 400 กรัม ไม่นับรวมผักกลุ่มที่ให้แป้ง (Starchy vegetables) ควรมี ผู้บริโภคยุคปัจจุบันที่เน้นรูปลักษณ์ที่มีดีไซน์ สวยงามในขณะเดียวกันก็ค�านึงถึง
ธัญพืชทั้งเมล็ด (Whole grain) และถั่วชนิดต่างๆ (Legumes) ไม่น้อยกว่า 20 กรัม สุขภาพด้วย โดยจัดการประกวดแข่งขัน “รังสรรค์เมนูฟิวชัน ด้วยผัก ผลไม้
จะท�าให้ได้รับใยอาหารมากกว่า 25 กรัม ในขณะที่ควบคุมสารอาหารประเภท 100 กรัม” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้เมนูอาหารฟิวชันที่ผสมผสานสัญชาติ
อื่นร่วมด้วย ได้แก่ ไขมัน เกลือ/โซเดียม และน�้าตาล มีรายงานว่าการบริโภคผัก อาหารตั้งแต่ 2 สัญชาติขึ้นไป โดยผู้แข่งขันต้องเตรียมอาหารจานหลัก
และผลไม้เพิ่มขึ้น 1 หน่วยบริโภค (80 กรัม = อาหารว่าง และเครื่องดื่ม ที่มีส่วนประกอบ
0.8 ขีด) ต่อวัน สามารถลดความเสี่ยงของการ- ของผัก ผลไม้ไม่น้อยกว่า 100 กรัมใน
เกิดโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง แต่ละเมนู ผักที่น�ามาประกอบจะเน้น
ได้ร้อยละ 10 และร้อยละ 6 ตามล�าดับ และลด เฉพาะผักใบ ไม่นับรวมผักหัวจ�าพวกหัวไชเท้า
ความเสี่ยงของการเป็นมะเร็งบางชนิด (กระเพาะ- มันฝรั่ง มันเทศ ส่วนผลไม้สามารถเลือกได้
อาหาร หลอดอาหาร ปอด และล�าไส้ใหญ่และ ทุกชนิด เช่น ผลไม้สด ผลไม้แช่แข็ง หรือ
ทวารหนัก) ร้อยละ 1-6 (Lock et.al, 2005) ผลไม้แปรรูป ทั้งนี้ให้นับรวมปริมาณ
เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถมีแนวทางปฏิบัติ เมล็ดพืช เมล็ดถั่ว ธัญพืช รวมถึงข้าวกล้อง
ได้จริงในการบริโภคผัก ผลไม้ให้ได้ปริมาณ อาหารจานหลักต้องมีส่วนประกอบของ
อย่างน้อย 400 กรัมต่อวัน สถาบันโภชนาการ โปรตีนไม่น้อยกว่า 15 กรัม และในแต่ละ
มหาวิทยาลัยมหิดล โดยการสนับสนุนจาก เมนูควรมีปริมาณโซเดียมไม่เกิน 1,000
ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม มิลลิกรัม ทั้งนี้เมนูที่ผ่านเข้ารอบ 10 ทีม
สุขภาพ (สสส.) จึงได้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ สุดท้ายจะมีการแข่งขันการปรุงประกอบ
เพื่อการเพิ่มการบริโภคผัก ผลไม้ให้ได้อย่างน้อย ต่อหน้าคณะกรรมการตัดสินตามเกณฑ์
400 กรัมต่อวัน แบ่งเป็น 2 แนวทาง ดังนี้ ด้านรสชาติ ความยากง่ายในการจัดหา
18 FOOD FOCUS THAILAND FEB 2018