Page 25 - FoodFocusThailand No.143_February 2018
P. 25
SPECIAL FOCUS
เพื่อปรับสภาวะบรรยากาศให้เหมาะสม ผมคิดว่าในอีก 10 ปี ข้างหน้า “ผลไม้กลายเป็นอาหารมื้อว่างที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในยุโรป
เราจะได้เห็นโลกที่แตกต่างอย่างสิ้นเชิงว่าเทคโนโลยีเหล่านี้สามารถน�ามา เอเชียแปซิฟิก และตะวันออกกลาง/แอฟริกา และติดอันดับ 1 ใน 5
ประยุกต์ใช้ในระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ได้อย่างไร” ในสหรัฐอเมริกา ส่วนผักครองต�าแหน่งอาหารมื้อว่างที่ได้รับความนิยมสูงที่สุด
Mr.Silbermann ยังกล่าวถึงการน�าเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อแก้ไข ในเอเชียแปซิฟิกและยุโรป” Mr.Silbermann กล่าว และเสริมว่านวัตกรรมของ
ปัญหาการขาดแคลนน�้า “เราได้เห็นการลงทุนจ�านวนมากในเรื่องการรีไซเคิลน�้า บรรจุภัณฑ์ ตลอดจนความร่วมมือกันของผู้ค้าปลีกและซัพพลายเออร์ก็เป็น
การกรอง การปฏิบัติงานที่แม่นย�า และการควบคุมการระเหย” ตัวอย่างเช่น ปัจจัยที่ส่งเสริมการเติบโตของอุตสาหกรรมผักและผลไม้เช่นกัน
โรงเรือนกระจกที่สามารถใช้ประโยชน์จากน�้าที่พืชคายออกมา (Dew การให้ความส�าคัญกับการใช้เทคโนโลยี เช่น แทบเล็ตและแอพพลิเคชัน
harvesting greenhouse) ที่ออกแบบในเอธิโอเปีย ท�าให้เกษตรกรไม่ต้องฝาก ต่างๆ ของผู้บริโภคยุคมิลเลนเนียลเป็นสิ่งที่น่าสนใจและคุ้มค่าที่จะน�ามาใช้
ความหวังไว้กับระบบน�้าจากภายนอก นี่เป็นเพียงหนึ่งในหลากหลายแนวคิด ประกอบการท�าการตลาดสินค้าผักและผลไม้ “ผู้บริโภคยุคเซ็นเทนเนียล
ที่จะผลักดันให้อุตสาหกรรมของเราปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้าน อยากจะเลือกซื้อสินค้าที่อธิบายว่าสด ธรรมชาติ และมาจากท้องถิ่น ทั้งยัง
ผู้บริโภคและด้านเทคโนโลยี” ต้องการปรุงอาหารเองตั้งแต่เริ่มต้น ดังนั้น การบอกเล่าเรื่องราวของความยั่งยืน
สิ่งที่กล่าวมานี้เชื่อมโยงกับเรื่องความยั่งยืน ซึ่งเป็นเทรนด์ที่ส�าคัญและ หรือมีการบูรณาการงานวิจัยเกี่ยวกับข้อมูลด้านประชากรศาสตร์เข้าไป
เข้ามามีบทบาทมากขึ้น Mr.Silbermann กล่าวว่า “ความยั่งยืนส่งผลต่อ ในกลยุทธ์การตลาดก็เป็นสิ่งที่น่าสนใจ” Mr.Silbermann กล่าว
การให้ค�านิยามใหม่ของค�าว่า ‘สุขภาพ’ สมัยก่อนเราให้ค�านิยามกับสุขภาพ ในมุมนี้ Mr.Worthington เห็นพ้องว่า ผู้บริโภคยุคมิลเลนเนียลและ
ของผลิตผลสดทางการเกษตร โดยมองว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับโภชนาการล้วนๆ เซ็นเทนเนียลมีความส�าคัญกับอุตสาหกรรมผักและผลไม้ โดยมีอิทธิพลและ
แต่ปัจจุบันผู้บริโภคจ�านวนมาก โดยเฉพาะวัยหนุ่มสาวต่างสรรหาการบริโภค ท้าทายต่อการก�าหนดกลยุทธ์และการด�าเนินธุรกิจ ซึ่งมีความส�าคัญพอๆ กับ
เพื่อท�าให้มีสุขภาพดีและมองแบบองค์รวมมากขึ้น พวกเขาพิจารณาที่ตัวสินค้า การท�าการตลาดสินค้า “เราจ�าเป็นต้องปรับเปลี่ยนแนวคิดเดิมๆ ของเรา
ว่าดีต่อสุขภาพหรือเปล่า และยังมองไปถึงผลกระทบของกระบวนการผลิตและ เกี่ยวกับผู้บริโภคกลุ่มนี้ ซึ่งรวมถึงการให้คุณค่ากับความคิดเห็นที่หลากหลาย
การกระจายสินค้าว่ารักษ์โลกด้วยหรือไม่ สิ่งเหล่านี้น�าไปสู่การเปลี่ยนแปลง ผู้บริโภคยุคมิลเลนเนียลร้อยละ 86 มีความรู้สึกว่าความคิดเห็นที่หลากหลาย
ของอาหารที่พวกเขาจะเลือกซื้อและเลือกกิน” จะท�าให้ทีมสามารถท�างานได้อย่างเหนือชั้น”
ไม่น่าแปลกใจเลยที่ความตระหนักในเรื่องสุขภาพ ส่งผลให้ปัจจุบัน คนยุคมิลเลนเนียลสามารถน�าเอานวัตกรรมมาใช้เป็นเครื่องมือส�าคัญ
ผักและผลไม้กลายเป็นทางเลือกใหม่ของอาหารมื้อว่างในทั่วทุกภูมิภาค ที่จะเผชิญกับความท้าทาย “ภายในปี 2593 ร้อยละ 70 ของประชากรโลก
FEB 2018 FOOD FOCUS THAILAND 25