Page 61 - FoodFocusThailand No.143_February 2018
P. 61
SPECIAL REPORT
ร้อยละ 2.3 จากการส่งออก มูลค่าตลาด อัตราเติบโต 5 ปี
สับปะรดกระป๋อง และปลาทะเล (ล้านบาท) ล่าสุด
แช่แข็งที่หดตัวลง และสหราช กลุ่มผลไม้สดไม่รวมผลิตภัณฑ์มะพร้าว 72,340 +23%
อาณาจักร ลดลงร้อยละ 10.9 เครื่องดื่มชูก�าลัง 22,520 +10%
จากการเผชิญภาวการณ์ชะลอ ผลิตภัณฑ์เบเกอรี 13,533 +11%
ตัวทางเศรษฐกิจและการแข็งค่า
ของค่าเงินปอนด์เทียบบาท นม 10,469 +6%
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารไม่รวมวิตามิน 3,201 +6%
กลุ่มสินค้าดาวเด่นของไทย ไอศกรีม 2,122 +5%
ในอนาคต
คุณยงวุฒิ เสาวพฤกษ์ ผู้อ�านวยการ รวม 12,4185
สถาบันอาหาร กระทรวง- รูปที่ 1 กลุ่มสินค้าดาวเด่นของไทยในอนาคต โดยสินค้าส่วนใหญ่มีตลาดหลักอยู่ในประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มอาเซียน
อุตสาหกรรม ได้แสดงความคิดเห็น ที่มา: ฝ่ายวิจัยและข้อมูล สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม
เพิ่มเติมว่า “แม้ว่าสินค้าส่งออก
หลักหลายรายการจะชะลอตัวลง แต่ก็มีสินค้าส่งออกกลุ่มใหม่ๆ ที่ขยายตัวสูง แนวโน้มการขาดแคลนแรงงานทั้งภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรม และ
และคาดว่าจะเป็นกลุ่มสินค้าดาวเด่นของไทยในอนาคต ได้แก่ กลุ่มผลไม้สด ต้นทุนแรงงานมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลต่อความสามารถ
ไม่รวมผลิตภัณฑ์มะพร้าว ปัจจุบันมีมูลค่าตลาด 72,340 ล้านบาท เติบโตเพิ่มขึ้น ในการแข่งขันของประเทศ
เฉลี่ย 5 ปีล่าสุด (เพิ่มขึ้นร้อยละ 23) เครื่องดื่มชูก�าลัง 22,520 ล้านบาท (เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ในก้าวต่อไปของอุตสาหกรรมอาหาร คือการผลักดันอุตสาหกรรม
ร้อยละ 10) ผลิตภัณฑ์เบเกอรี 13,533 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 11) นม เป้าหมาย 10 อุตสาหกรรมตามนโยบายของรัฐ ซึ่งหนึ่งในนั้น คือ อุตสาหกรรมเกษตร
10,469 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 6) ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารไม่รวมวิตามิน แปรรูปและอาหาร โดยเฉพาะในพื้นที่ EEC ที่ภาครัฐ สถาบันอาหาร รวมทั้ง
3,201 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 6) และไอศกรีม 2,122 ล้านบาท (เพิ่มขึ้น สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ร่วมกันผลักดัน
ร้อยละ 5) โดยสินค้าส่วนใหญ่มีตลาดหลักอยู่ในประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่ม ให้เกิดการลงทุนในพื้นที่ดังกล่าว เพื่อผลส�าเร็จเป็นรูปธรรม
อาเซียน ทั้งนี้ ทั้ง 3 องค์กรจะร่วมกันผลักดันสินค้าในกลุ่มดังกล่าวมากขึ้น โดย
เฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการ SMEs และจะร่วมกันผลักดันสินค้าในกลุ่มใหม่ๆ
ที่มีศักยภาพมากขึ้น”
แนวโน้มอุตสาหกรรมอาหารไทย ปี 2561
ส�าหรับแนวโน้มอุตสาหกรรมอาหารไทยในปี 2561 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้น
ต่อเนื่องจาก ปี 2560 ในอัตราร้อยละ 7.0 มีมูลค่าส่งออก 1.07 ล้านล้านบาท
โดยสินค้าที่คาดว่าจะมีมูลค่าส่งออกสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ ข้าว ไก่
น�้าตาลทราย กุ้ง และทูน่ากระป๋อง ส่วนสินค้าที่คาดว่าจะมีมูลค่าขยายตัว
เพิ่มขึ้นสูงสุด 5 อันดับ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์มะพร้าว (เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.6) อาหาร
พร้อมรับประทาน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.0) กุ้ง (เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.3) น�้าตาลทราย
(เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.8) เครื่องปรุงรส (เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.8) ไก่ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.6)
และน�้าผลไม้ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.6)
ปัจจัยสนับสนุนและปัจจัยเสี่ยงต่ออุตสาหกรรมอาหารไทย ปี 2561
จากการคาดการณ์การเติบโตของอุตสาหกรรมอาหารไทยในปี 2561 นี้พบว่า
มีปัจจัยสนับสนุนจากเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าส�าคัญฟื้นตัวต่อเนื่อง ผลผลิต
วัตถุดิบสินค้าเกษตรในปีการผลิต 2560/61 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามปริมาณ
น�้าฝน และนโยบายสนับสนุนภาคเกษตรกรรมและเศรษฐกิจฐานรากของ
รัฐบาล ทั้งเกษตรกรและผู้ประกอบการรายย่อย (SMEs และกลุ่ม OTOP)
ด้านปัจจัยเสี่ยงส�าหรับในปี 2561 พบว่ามีปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบ
ต่อการเติบโตของอุตสาหกรรม ได้แก่ การแข็งค่าของค่าเงินบาทอย่างต่อเนื่อง
ตั้งแต่ปี 2560 ราคาพลังงานที่สูงขึ้นกระทบต่อต้นทุนสินค้าและค่าขนส่ง
FEB 2018 FOOD FOCUS THAILAND 61