Page 28 - FoodFocusThailand No.144_March 2018
P. 28
SPECIAL FOCUS
SPECIAL FOCUS
ธรรมนูญ ตรีเพ็ชร
Thammanoon Tripetchr
Managing Director
Harn Engineering Solutions Pcl.
thammanoon.t@harn.co.th
Application for Maximizing
Process Efficiency
การประยุกต์ใช้แอพพลิเคชัน เพื่อประสิทธิภาพการผลิตสูงสุด
ดิจิทัลเทคโนโลยี และ Industry 4.0 ก�ำลังปฏิรูปในหลำยแง่มุมของโลก ข้างหน้าและในส่วนของทีมบริการก็จะเห็นข้อมูลจากแพลตฟอร์มเดียวกัน
ที่เรำอำศัยอยู่ในปัจจุบัน หนึ่งในองค์ประกอบส�ำคัญของ Industry 4.0 ดังนั้น ผู้ใช้ บริษัท และวิศวกรภาคสนามจะได้รับข้อมูลพร้อมกันและ
คือกำรผสำนรวมกันของระบบอุปกรณ์และกระบวนกำรผลิตของโรงงำน เหมือนๆ กัน อันก่อให้เกิดความรวดเร็วและความชัดเจนของข้อมูล
เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตที่ก่อให้เกิดสินค้ำหลำกหลำย และมี ดังที่กล่าวมาจึงสามารถแบ่งระดับของผู้ใช้งานได้ 3 ระดับ ดังนี้
1. ผู้ดูแลระบบ (Admin) จะสามารถเข้าดูข้อมูลหน้าเว็บไซต์ได้ทุกหน้า
เทคโนโลยีต่ำงๆ ให้เลือกใช้ ผู้ประกอบกำรจ�ำเป็นต้องพิจำรณำเลือกใช้ และสามารถแก้ไข/ปรับการตั้งค่าต่างๆ ผ่านเว็บไซต์ได้
เทคโนโลยีที่เหมำะสม เพื่อเป็นกำรตัดสินใจลงทุนคุ้มค่ำในระยะยำว (Life- 2. ผู้จัดการ (Manager) จะสามารถเข้าดูหน้าเว็บไซต์ได้ทุกหน้าเพื่อ
time value) และสิ่งส�ำคัญคือ จะต้องก่อให้เกิดกำรเพิ่มประสิทธิภำพต่อ ตรวจสอบข้อมูลภาพรวมและประสิทธิภาพรวมครั้งละหลายๆ โรงงาน
คนและเวลำ 3. วิศวกรภาคสนาม (Field Engineer) และ ผู้ใช้ (User) จะสามารถ
1
เข้าดูผ่านแอพพลิเคชัน เพื่อดูข้อมูลสถานะเครื่องในขอบเขตโรงงาน
ในหลายๆ กระบวนการผลิตอัตโนมัติมักจะเป็นกระบวนการที่เป็นอิสระต่อกัน ที่รับผิดชอบเท่านั้น
แต่เทคโนโลยี loT หรือ ดิจิทัลเทคโนโลยีท�าให้ระบบเหล่านี้เชื่อมต่อกันและสื่อสาร การแสดงผลของแอพพลิเคชันใหม่นี้ จะแสดงข้อมูลในภาพรวมของ
1
ถึงกัน และเมื่อน�ามาเชื่อมต่อกับระบบควบคุมรวมของโรงงานที่จะเชื่อมต่อทุกๆ ทั้งระบบ แผนที่แสดงจ�านวนโรงงานและเครื่องพิมพ์ในแต่ละภูมิภาค จ�านวน
ส่วนของโรงงาน หรือจากหลายโรงงานเข้าด้วยกันผ่านโครงข่ายอินเทอร์เน็ตก็จะ เครื่องพิมพ์ในแต่ละสถานะ กราฟเส้นแสดงจ�านวนเครื่องพิมพ์ในแต่ละ
เป็นกระบวนการทางธุรกิจที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น ดิจิทัลเทคโนโลยีจึงมีความ- สถานะที่เวลาย้อนหลัง 24 และ 48 ชั่วโมง หรือย้อนหลังสูงสุด 30 วัน
ส�าคัญเป็นอันดับต้นๆ ที่เครื่องและอุปกรณ์ต้องรองรับการสื่อสารกับ ERP หรือ โดยแต่ละสีมีความหมายดังรูปที่ 1 ซึ่งข้อมูลจากการแสดงผลทั้งหมดนี้
ระบบและอุปกรณ์ต่างๆ ภายนอกได้ ผู้ดูแลสามารถเข้าไปเช็คสถานะของเครื่องเพื่อที่จะแจ้งต่อไปยังทีมวิศวกร
1
ปัจจุบัน มีแอพพลิเคชันที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมา ที่สามารถสื่อสารจาก ภาคสนามเพื่อเข้าตรวจเช็คได้
ศูนย์บริการของบริษัทกับเครื่องผ่านโครงข่ายอินเทอร์เน็ต ส่วนผู้ใช้จะมี ในกรณีที่มีสถานะสีแดงหรือสีเหลือง ผู้ดูแลระบบก็สามารถเลือกเข้าไป
แอพพลิเคชันที่แสดงสถานะบนอุปกรณ์ต่างๆ ได้ เช่น มือถือ แท็บเล็ต โน๊ตบุ๊ค ดูได้ว่า ในโรงงานนั้นมีเครื่องใดที่เป็นสถานะสีแดงหรือสีเหลืองบ้าง เมื่อพบ
แสดงสถานะเครื่องที่ติดตั้งใช้งานอยู่ภายในโรงงานมีประสิทธิภาพเป็นอย่างไร เครื่องที่เกิดความผิดปกติดังกล่าว สามารถดูสถานะได้ว่าเกิดความผิดปกติ
มีข้อความแจ้งเตือนอะไรบ้างหรือไม่ วัสดุสิ้นเปลืองต้องเปลี่ยนในอีกกี่ชั่วโมง อย่างไรเพื่อแจ้งรายละเอียดต่อไปยังทีมวิศวกรภาคสนามเพื่อเข้าตรวจเช็ค
และแก้ไข ดังตัวอย่างในรูปที่ 2
28 FOOD FOCUS THAILAND MAR 2018