Page 36 - FoodFocusThailand No.144_March 2018
P. 36
ยุวาณี อุ้ยนอง
Yuwanee Ouinong
Economic Intelligence Center (EIC)
yuwanee.ouinong@scb.co.th
SMART PRODUCTIONON
SMART PRODUCTI Siam Commercial Bank Public Company Limited
David Kennedy
www.ptonline.com
Translated By: Editorial Team
Food Focus Thailand Magazine
editor@foodfocusthailand.com
8 ข้อควรรู้
ในการเลือกระบบล�าเลียง
แบบสุญญากาศส�าหรับวัสดุแบบผง
ระบบล�ำเลียงแบบสุญญำกำศส�ำหรับผงและกำรล�ำเลียงวัสดุ
ในปริมำณมำกมักต้องระมัดระวังควำมเสี่ยงต่ำงๆ ตั้งแต่จุดเริ่มต้น
ถึงปลำยทำง วัสดุที่เป็นผงมักถูกล�ำเลียงจำกต้นทำงเข้ำสู่
กระบวนกำรผลิตด้วยสุญญำกำศหรือแรงดันติดลบ โดยประโยชน์ 2. ระยะทางในการล�าเลียง
ระยะทางในการล�าเลียงในที่นี้ หมายถึงระยะทางทั้งในแนวตั้งและแนวนอน
ที่ส�ำคัญอย่ำงหนึ่งของระบบล�ำเลียงแบบสุญญำกำศ คือ โดยในระบบ Up-and-In มักจะมีท่อขนส่งสินค้าในแนวตั้งจากพื้น ที่ดันสินค้า
ควำมสำมำรถในกำรควบคุมฝุ่น เข้าสู่เครื่อง Extruder หรือเครื่องป้อนสินค้าแบบ Loss-in-weight feeder
นอกจากนี้ เรายังต้องทราบเกี่ยวกับองศาการโค้งของท่อล�าเลียงไม่ว่าจะเป็น
แบบ 45 หรือ 90 องศา เนื่องจากส่วนโค้งนี้อาจมีเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า
ระบบการควบคุมการล�าเลียงจะช่วยให้การเคลื่อนย้ายและการน�าสินค้า ท่อธรรมดาถึง 8-10 เท่า และยังเทียบเท่ากับระยะทางท่อที่เป็นแนวตรงยาว
ออกท�าได้ทุกเวลา ซึ่งเหมาะอย่างยิ่งในกระบวนการผลิตขนาดใหญ่ที่ต้องการ 20 ฟุต การลดส่วนโค้งในระบบก็เป็นเรื่องส�าคัญ เนื่องจากวัสดุแบบผงไม่
ขนถ่ายวัสดุจ�านวนมากจากบรรจุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น ถุงขนาดใหญ่ รถราง เคลื่อนที่แบบเดียวกับของเหลว และระบบล�าเลียงแบบสุญญากาศควรจะลด
และไซโล โดยใช้กระบวนการอัตโนมัติเป็นหลักซึ่งจะช่วยลดการย้ายสินค้าจาก ท่อที่เป็นส่วนโค้งต่อกันให้ได้มากที่สุด นอกจากนี้ ในการล�าเลียงสินค้าแบบ
บรรจุภัณฑ์หนึ่งไปอีกบรรจุภัณฑ์หนึ่งบ่อยๆ และเพื่อการออกแบบระบบ Batch-mode หากท่อสุญญากาศในแนวตั้งมีความยาวเกิน 12-15 ฟุต
ล�าเลียงที่เหมาะสม เราจึงควรหาข้อสรุปและเรียนรู้เกี่ยวกับ 8 ปัจจัยเหล่านี้ สินค้าอาจจะหยุดเคลื่อนที่และหล่นลงมาทั้งหมด ดังนั้น เราจึงจ�าเป็นต้อง
ในกระบวนการผลิต ออกแบบวาล์วในการเปิดพื้นที่ในท่อ (Line-clearing valve) เพื่อให้มั่นใจว่า
ท่อโล่งก่อนระบบหยุดท�างาน
1. ความหนาแน่นของผลิตภัณฑ์
ในขั้นตอนแรก เราควรต้องเรียนรู้เกี่ยวกับวัสดุผงที่เราต้องการล�าเลียง 3. อัตราการล�าเลียง
โดยเฉพาะความหนาแน่นรวมซึ่งมีหน่วยเป็นปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต (PCF) ในการค�านวณอัตราล�าเลียง เราจ�าเป็นต้องทราบก่อนว่า น�้าหนักที่สามารถ
หรือกรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (g/cc) ความหนาแน่นถือเป็นปัจจัยส�าคัญ ล�าเลียงได้ต่อชั่วโมงเป็นเท่าไหร่ และยังต้องพิจารณาด้วยว่าระบบเคลื่อนย้าย
ในการค�านวณขนาดตัวรับสุญญากาศ (Vacuum receiver) ตัวอย่างเช่น เป็นแบบเคลื่อนย้ายเป็นครั้ง (Batch-mode) หรือระบบต่อเนื่อง (Continuous-
ผงที่มีน�้าหนักเบาอาจต้องใช้ตัวรับที่มีขนาดใหญ่ เพื่อให้สินค้าเดินทางตาม mode) นอกจากนี้เรายังต้องรู้ความต้องการในการท�างานเพื่อจะได้เลือกระบบ
แรงลมได้ นอกจากนี้ ความหนาแน่นรวมยังช่วยในการค�านวณขนาดท่อ ที่มีขนาดถูกต้องตามอัตราการล�าเลียงสินค้าที่ต้องการ
ล�าเลียง ซึ่งเป็นส่วนที่ผลิตแรงลมและอัตราความเร็วในการเคลื่อนย้ายสินค้า
36 FOOD FOCUS THAILAND MAR 2018