Page 34 - FoodFocusThailand No.144_March 2018
P. 34
ยุวาณี อุ้ยนอง
Yuwanee Ouinong
Economic Intelligence Center (EIC)
yuwanee.ouinong@scb.co.th
STRATEGIC R&D Siam Commercial Bank Public Company Limited
แร่ธาตุส�าหรับผู้สูงอายุ
จ�ำนวนประชำกรผู้สูงอำยุทั่วโลกก�ำลังเพิ่มขึ้นอย่ำงรวดเร็ว โดยองค์กำรสหประชำชำติประเมินว่ำภำยในปี พ.ศ. 2593 จ�ำนวนผู้สูงอำยุที่มีอำยุ
ตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปจะเพิ่มขึ้นอีกถึง 2 เท่ำตัว องค์กำรอนำมัยโลกจึงได้มีควำมพยำยำมผลักดันทั้งในเรื่องของโภชนำกำรและกำรเสริมสร้ำงภูมิคุ้มกัน
1
เฉพำะด้ำนส�ำหรับผู้สูงอำยุ เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยที่จะให้ผู้สูงอำยุมีสุขภำพที่ดี
การเสริมสร้างแร่ธาตุส�าหรับผู้สูงอายุ
การเสริมสร้างแร่ธาตุในอาหารให้กับผู้สูงอายุเป็นกระบวนการที่ค่อนข้างจะมี ไตรแคลเซียมซิเตรทเป็นเกลือแคลเซียมที่มีความสามารถในการละลาย
ความซับซ้อน เนื่องจากผู้สูงอายุมีความต้องการบริโภคอาหารที่เปลี่ยนแปลงไป ปานกลาง ไม่มีรสชาติ และมีปริมาณแคลเซียมสูงร้อยละ 21 ร่างกายสามารถ
2
รวมถึงความสามารถในการดูดซึมและน�าสารอาหารต่างๆ ไปใช้ก็ลดลง ท�าให้มี น�าแคลเซียมไปใช้ได้สูงกว่า เมื่อเทียบกับแคลเซียมคาร์บอเนต เนื่องจาก
ความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการและโรคต่างๆ ได้สูงขึ้น เช่น โรคเบาหวาน การถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายไม่ขึ้นอยู่กับสภาพความเป็นกรดในกระเพาะ
โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคกระดูกพรุน การเลือกแหล่งของแร่ธาตุที่จะน�ามา อาหารและไม่สร้างแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ จึงเป็นเกลือแคลเซียมที่เหมาะสม
เสริมอาหารส�าหรับผู้สูงอายุจ�าเป็นต้องค�านึงถึงปริมาณแร่ธาตุ ความสามารถ กับการน�าไปเสริมให้กับผู้สูงอายุซึ่งมีภาวะความบกพร่องของการผลิตกรด
ในการละลาย รสชาติ และที่ส�าคัญที่สุดคือ ความสามารถของแร่ธาตุนั้นๆ ในกระเพาะอาหาร
ในการถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย เพื่อให้ร่างกายน�าไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สังกะสีและการเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน
แคลเซียมกับสุขภาพกระดูก สังกะสีเป็นแร่ธาตุที่ร่างกายต้องการในปริมาณน้อย แต่มีความจ�าเป็นมาก
โรคกระดูกพรุนเป็นโรคที่พบได้มากในผู้สูงอายุ เนื่องจากวัยที่เพิ่มขึ้น แร่ธาตุใน เนื่องจากเกี่ยวข้องกับหลายกระบวนการท�างานของร่างกาย เช่น ระบบการ
กระดูกจะเสื่อมสลายและไม่สามารถท�าหน้าที่ได้ จึงจ�าเป็นที่จะต้องได้รับ สร้างภูมิคุ้มกัน การนึกคิดและการรับรู้ รวมถึงการมองเห็น ภาวะการขาด
แคลเซียมที่พอเพียงเพื่อป้องกันการเสื่อมสลายของกระดูก แคลเซียมในรูปแบบ สังกะสีพบได้ค่อนข้างน้อย แต่มีแนวโน้มสูงขึ้นในกลุ่มผู้สูงอายุ สังกะสีในรูป
เกลืออินทรีย์ เช่น แคลเซียมกลูโคเนต แคลเซียมแลคเตท และแคลเซียมแลคเตท- ของเกลือซัลเฟต กลูโคเนต และอะซีเตทให้รสชาติที่เฝื่อนและขม จึงเป็น
กลูโคเนทมีข้อดีคือสามารถละลายน�้าได้สูง ท�าให้สามารถถูกดูดซึมได้ง่าย แต่ ความยากในการน�าไปใช้เสริมในอาหาร สังกะสีในรูปเกลือออกไซด์ให้รสชาติ
ข้อเสียก็คือแคลเซียมที่อยู่ในเกลือทั้งสามชนิดนี้มีปริมาณค่อนข้างต�่า (ร้อยละ ที่ดีกว่า แต่มีข้อเสียคือละลายน�้าได้น้อยและความสามารถในการถูกดูดซึม
9-13) ในขณะที่แคลเซียมในรูปแบบเกลืออนินทรีย์ เช่น แคลเซียมคลอไรด์ ไปใช้ได้น้อย สังกะสีในรูปเกลือซิเตรทจึงเป็นทางเลือกที่ดีกว่า เนื่องจากให้
มีปริมาณแคลเซียมสูงถึงร้อยละ 36 ความสามารถในการละลายน�้าดี แต่มี รสชาติดี ต้นทุนในการใช้ต�่าเพราะมีปริมาณสังกะสีสูงถึงร้อยละ 31 และมี
ข้อจ�ากัดเรื่องรสชาติ แคลเซียมในรูปแบบเกลืออนินทรีย์ชนิดอื่น เช่น แคลเซียม- ความสามารถในการละลายได้ปานกลาง นอกจากนี้ยังเป็นรูปแบบเกลือ
คาร์บอเนต และแคลเซียมฟอสเฟต ก็มีปริมาณแคลเซียมสูงเช่นเดียวกัน อินทรีย์ที่ร่างกายสามารถดูดซึมแร่ธาตุไปใช้ได้สูงอีกด้วย 3
(ร้อยละ 38-40) แต่มีความสามารถในการละลายต�่า
34 FOOD FOCUS THAILAND MAR 2018