Page 51 - FoodFocusThailand No.145_April 2018
P. 51

กองบรรณาธิการ
                                                                                                  ยุวาณี อุ้ยนอง
                                                      Editorial Team
                                                                                              Yuwanee Ouinong

                                                  Food Focus Thailand
                                                                                   Economic Intelligence Center (EIC)
                                           editor@foodfocusthailand.com
                                                                         Siam Commercial Bank Public Company Limited
                                                                                       yuwanee.ouinong@scb.co.th
                                                                                        STRENGTHEN THE PACKAGINGGTHEN THE PACKAGING
                                                                                        STREN
                                                                                              บรรจุภัณฑ์
                                                            ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

                                                           ปัจจุบันผู้คนต่างสนใจและใส่ใจในผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น รวมทั้งทิศทาง
                                                           ของบรรจุภัณฑ์ก็เช่นเดียวกัน เราจะได้ยินค�าว่า “Green package” หรือ “Ecological
                                                           package” หรือ “Environmentally friendly packaging” กันมากขึ้น และอีกค�าหนึ่ง
                                                           ที่ผู้คนจะได้ยินและคุ้นหูจะหนีไม่พ้นค�าว่า “Sustainable” หรือความยั่งยืนนั่นเอง เช่นนั้น
                                                           แล้ว Green package กับ Sustainable package เกี่ยวข้องกันอย่างไร?


                                                                                                        ผาค�า แถมโฮง
                                                                                                 Phakham Thaemhong
                                                                                               Client Manager, Food Division
                                                                                              British Standard Institution (BSI)
                                                                                           phakham.thaemhong@bsigroup.com

               แนวคิดของ Green Package                                Eco–Design การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม
               Green package หรือบรรจุภันฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผลิตมาจากธรรมชาติ   ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมให้ประสบความส�าเร็จ มีองค์ประกอบ
               สามารถน�ากลับเข้าสู่วงจรได้ใหม่ น�ากลับมาใช้ได้ใหม่ มีแนวโน้มที่จะย่อยสลายได้   6 ข้อส�าคัญที่ต้องพิจารณา ดังนี้
               ส่งเสริมความยั่งยืนตลอดในช่วงวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ไม่เป็นอันตราย                1. จากจุดเริ่มต้นของผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
               ต่อสภาพแวดล้อมตลอดจนสุขภาพของมนุษย์และสัตว์            พัฒนาผลิตภัณฑ์ เช่น นักออกแบบ บริษัทผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ ห่วงโซ่อุปทาน การจัดซื้อ
                                                                      นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การตลาด เป็นต้น
               หลักการ 4R1D ของ Green Package (Ecological Package)       2. การใช้งานของผู้บริโภค อัตราการซ่อมแซม การใช้ครั้งเดียวหรือใช้หลายครั้ง
               Green package ไม่ใช่แค่ด้านประสิทธภาพทั่วไปเท่านั้น แต่ Green package   ข้อมูลที่มองเห็นและชัดเจน เป็นต้น
               ยังมีสองฟังก์ชันหลักส�าคัญ คือ การปกป้องสิ่งแวดล้อมและการน�ามาใช้ใหม่ได้  3. คิดเกี่ยวกับระบบบรรจุภัณฑ์ทั้งหมดเพื่อหลีกเลี่ยงการถ่ายเทผลกระทบ เช่น
               เป็นทรัพยากรหมุนเวียน ซึ่งทั้งสองฟังก์ชันหลักนี้ใช้หลักการ 4R1D คือ Reduce,   การบรรจุของวัสดุที่ซื้อมา การผลิตบรรจุภัณฑ์ ลักษณะบรรจุภัณฑ์ Primary/
               Reuse, Reclaim, Recycle และ Degradable ดังนี้          Secondary/Tertiary อายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์
                  Reduce (ลด) คือ การลดบรรจุภัณฑ์ส�าหรับผลิตภัณฑ์แต่ยังคงหน้าที่ด้าน  4. เพิ่มประสิทธิภาพด้านน�้าหนัก และ/หรือ ปริมาตรของบรรจุภัณฑ์ส�าหรับคุณค่า
               การปกป้องเพื่อการขนส่งและเคลื่อนย้าย ด้านการตลาด และหน้าที่อื่นๆ ได้อย่าง  การใช้งานที่ก�าหนดไว้ของผลิตภัณฑ์ เช่น คิดถึงการขนส่งผลิตภัณฑ์ ตลอดจนเงื่อนไข
               เหมาะสม เช่น ใช้วัสดุในปริมาณที่น้อยที่สุด บรรจุภัณฑ์ที่บาง น�้าหนักเบา หรือ  การใช้งานของร้านค้าปลีก ให้ครอบคลุมครบวงจร ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ข้อจ�ากัด
               ออกแบบผลิตภัณฑ์แบบไม่ต้องใช้บรรจุภัณฑ์ เป็นต้น         ของบรรจุภัณฑ์ต่อส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ ข้อจ�ากัดของวัสดุบรรจุภัณฑ์ ตลอดจน
                  Reuse  (น�ากลับมาใช้ซ�้า) คือ การน�ากลับมาใช้ซ�้าของบรรจุภัณฑ์                    ข้อจ�ากัดของบรรจุภัณฑ์เปล่า เป็นต้น
               หลังการใช้งาน การใช้ซ�้าของบรรจุภัณฑ์สามารถลดปริมาณขยะได้มาก และ         5. เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรในระหว่างการผลิตบรรจุภัณฑ์ เช่น
               เพิ่มอัตรารีไซเคิลของผลิตภัณฑ์ที่น�ากลับมาใช้ใหม่ ยกตัวอย่างเช่น ขวดแก้ว  ความเพียงพอระหว่างก�าลังการผลิตและขนาดของเครื่องจักรหรือประเภทของวัสดุที่ใช้
               สามารถน�ามาล้างท�าความสะอาดแล้วน�ากลับมาใช้ใหม่ได้     ขนาดความยาว ประเภทของระบบการพิมพ์ เศษของเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิต
                  Reclaim (รีเคลม) หรืออาจเรียกว่ารีไซเคิลได้ ยกตัวอย่างเช่น เมื่อมีการ-       บรรจุภัณฑ์ พยายามใช้เทคนิคและแนวคิดด้าน ECO ให้ได้มากที่สุด เช่น การใช้วัสดุ
               เผาไหม้จากขยะของเสีย บรรจุภัณฑ์ที่สามารถเปลี่ยนให้เป็นพลังงานใหม่ได้          รีไซเคิล เป็นต้น
               โดยไม่ท�าให้เกิดมลภาวะ การผลิตผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรหมุนเวียน เช่น ก�าหนด  6. พิจารณาการจัดการตลอดสิ้นอายุการใช้งานของบรรจุภัณท์ ความยากง่าย
               แหล่งพลังงานความร้อนที่ได้จากการเผาไหม้ การท�าปุ๋ยหมัก หรือวิธีการอื่นๆ                     ในการแยกออกจากกันของส่วนประกอบ องค์ประกอบของบรรจุภัณฑ์เพื่อง่ายต่อการ-
               เพื่อเป็นการปรับปรุงคุณภาพของดิน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการ-                         คัดแยก หรือการน�ากลับมาใช้ใหม่ เป็นต้น
               น�ากลับมาใช้ใหม่
                  Recycle (รีไซเคิล) รีไซเคิลหรือเรียกว่า การน�ากลับมาใช้ใหม่เท่าที่                    เทรนด์บรรจุภัณฑ์อาหารที่น่าสนใจ
               เป็นไปได้ ซึ่งจะใช้พลังงานต�่า ต้นทุนต�่า ใช้วัสดุมลพิษต�่า โดยเฉพาะการเลือกใช้  1. การผลิตแบบอัตโนมัติมากขึ้น  โดยเฉพาะการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม และ
               วัสดุเพื่อรีไซเคิลควรมีการเพิ่มฟังก์ชันการใช้งานให้มากขึ้น ซึ่งสามารถลดมลภาวะ  มีแนวโน้มการใช้หุ่นยนต์เพื่อทดแทนมนุษย์มากขึ้น เช่น การแพ็กเป็นพาเลท การเปิด
               ต่อสิ่งแวดล้อม และยังช่วยประหยัดวัตถุดิบได้อีกด้วย เช่น วัสดุรีไซเคิล                     บรรจุภัณฑ์ออก การบรรจุขั้นต้น การบรรจุบรรจุภัณฑ์ล�าดับสอง และล�าดับสาม เป็นต้น
               จากกระดาษและพลาสติก เป็นต้น                               2. การซื้อในปริมาณมากจากผู้ขายรายเล็ก เนื่องจากทิศทางของกลยุทธ์ของ
                  Degradable (สามารถย่อยสลายได้) คือ ของเสียจากบรรจุภัณฑ์ที่ไม่สามารถ  ธุรกิจที่ผู้ขายรายเล็กมีความช�านาญมากขึ้น มีหลากหลายข้อเสนอตลอดจนการบริการ
               น�ามาใช้ซ�้าได้ สามารถย่อยสลายได้ และไม่ก่อให้เกิดขยะอย่างถาวร ยกตัวอย่างเช่น   ที่หลากหลาย ท�าให้ผู้ผลิตมองหาการสั่งซื้อด้วยปริมาณที่มากขึ้น จากผู้ขายที่สามารถ
               การเลือกใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายทางชีวภาพให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ หรือ  ผลิตให้ได้มากกว่าที่จะกระจายซื้อจากผู้ขายหลายราย
               เลือกบรรจุภัณฑ์จากกระดาษแทนที่พลาสติก เป็นต้น

                                                                                                  APR  2018 FOOD FOCUS THAILANDFOOD FOCUS THAILAND
                                                                                                  APR  2018              49 49

         49-51.indd   49                                                                                             20/3/2561 BE   18:31
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56