Page 41 - 146
P. 41
SPECIAL FOCUS
SPECIAL FOCUS
ไหลเวียนเข้าออกจ�านวนมากเฉกเช่นประเทศไทย การเน้นสนับสนุนผู้ประกอบการภาคเอกชนเป็นหลัก เพื่อช่วยสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ
ทั้งนี้ ข้อมูลและเกร็ดการเงินระหว่างประเทศจึงเกิด เมียนมา
ขึ้นมากมายเพื่อเป็นช่องทางในการน�าเสนอข้อมูล • Myanma Agricultural and Development Bank (MADB) เน้นให้บริการแก่เกษตรกร
ทางการเงินในประเทศต่างๆ ให้แก่ผู้ประกอบการ และผู้ประกอบการในพื้นที่ชนบททั้งสินเชื่อระยะสั้น และสินเชื่อระยะยาว มีลูกค้าราว 2 ล้านราย พนักงาน
โดยหวังว่าจะเป็นประโยชน์และช่วยเพิ่มความมั่นใจ ราว 2,500 คน และสาขา 230 แห่งทั่วประเทศ
ให้แก่ผู้ประกอบการในการลงสนามการค้าโลก ทั้งนี้ ส�าหรับด้านการค้าระหว่างประเทศ ธนาคารรัฐอย่าง MFTB และ MICB ถือเป็นธนาคารที่ควร
เริ่มต้นด้วยเรื่องของการท�าธุรกรรมทางการเงิน ท�าความรู้จักเนื่องจากเป็นธนาคารที่มีประสบการณ์ด้านธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศมายาวนาน
กับเมียนมา ที่เดิมเราอาจจะเห็นว่าการค้ากับ ประกอบกับเป็นธนาคารที่รัฐสนับสนุนจึงมีความน่าเชื่อถือค่อนข้างสูง และมีโอกาสที่คู่ค้าชาวเมียนมา
ประเทศเมียนมาส่วนใหญ่ท�าผ่าน Trader ชายแดน จะใช้บริการทางการเงินจากธนาคารทั้งสองแห่ง อาทิ การโอนเงินระหว่างประเทศ และการเปิด L/C
และช�าระเงินกันในระบบโพยก๊วน แต่หลังจาก
สหรัฐฯ ยกเลิกมาตรการคว�่าบาตรทางเศรษฐกิจที่มี
ต่อเมียนมาตั้งแต่ปี 2559 ประกอบกับนโยบาย
เศรษฐกิจที่เปิดกว้างมากขึ้นก็ท�าให้ภาคธนาคารของ
เมียนมาพัฒนาขึ้นอย่างมาก ขณะเดียวกันมูลค่า
การค้าขายกับเมียนมาที่มีขนาดใหญ่ขึ้นและเป็นไป
ตามมาตรฐานสากลมากขึ้น ท�าให้การท�าธุรกรรม
ทางการเงินระหว่างประเทศผ่านระบบธนาคารกลาย
เป็นสิ่งจ�าเป็น ผู้ประกอบการจึงควรท�าความรู้จัก
ธนาคารส�าคัญในเมียนมา โดยเฉพาะธนาคารของรัฐ
เนื่องจากถือเป็นธนาคารที่มีบทบาทส�าคัญในการท�า
ธุรกรรมทางการเงินในปัจจุบัน ทั้งนี้ ธนาคารรัฐใน
เมียนมามีทั้งหมด 4 แห่ง ได้แก่
• Myanma Economic Bank (MEB)
ถือเป็นธนาคารใหญ่อันดับสองของเมียนมาในแง่
ศักยภาพของการเข้าถึงลูกค้า (รองจาก KBZ Bank
ซึ่งเป็นธนาคารเอกชน) โดยมีสาขาราว 350 แห่ง และ
มีพนักงานราว 9 พันราย ซึ่งด้วยสาขาที่มีจ�านวนมาก
ท�าให้เป็นธนาคารที่เข้าถึงชาวเมียนมาในพื้นที่ชนบท
(ร้อยละ 70 ของชาวเมียนมาทั้งประเทศ)
อย่างไรก็ตาม ส�าหรับด้านการปล่อยสินเชื่อ MEB
เน้นสนับสนุนทางการเงินให้กับภาครัฐเป็นหลัก อาทิ
การเข้าซื้อพันธบัตรรัฐบาล การสนับสนุนทางการเงิน
กับรัฐวิสาหกิจ และการปล่อยเงินกู้ดอกเบี้ยต�่าให้กับ
ธนาคารรัฐอื่นๆ ขณะที่การสนับสนุนทางการเงินกับ
ภาคเอกชนในเมียนมามีสัดส่วนน้อยกว่า (ต�่ากว่า
ร้อยละ 10 ของสินทรัพย์ของธนาคาร)
• Myanma Foreign Trade Bank (MFTB)
เป็นธนาคารที่เน้นให้บริการทางการเงินด้านการค้า
ระหว่างประเทศด้วยเครือข่าย Correspondent
Bank กว่า 263 ธนาคาร ใน 54 ประเทศทั่วโลก
ถือเป็นธนาคารที่ได้รับความนิยมมากที่สุดใน
การเลือกเปิดบัญชีเงินตราต่างประเทศ
• Myanma Investment and Commercial
Bank (MICB) มีขนาดเล็กกว่า MEB และ MFTB
อีกทั้งยังให้บริการที่คล้ายคลึงกับทั้งสองธนาคารไม่ว่า
จะเป็นการสนับสนุนทางการเงินแก่ธุรกิจในประเทศ
และธุรกิจระหว่างประเทศ แต่จุดเด่นของ MICB คือ
MAY 2018 FOOD FOCUS THAILAND 37