Page 62 - 147
P. 62

SOURCE OF ENGINEER
       SOURCE OF ENGINEER





       ลดการสูญเสียเบียร์






       ที่สายการบรรจุและยืดอายุการเก็บรักษา





       Dissolved oxygen นั้นมีผลต่ออายุการเก็บของเบียร์ จึงต้องควบคุมให้อยู่ในระดับต�่าที่สุดจนถึงขั้นตอนการบรรจุขวด การวัดค่า
       ได้อย่างรวดเร็วและความสามารถในการตรวจวัดค่าที่ต�่ามากๆ ได้ของหัววัด จะช่วยลดการสูญเสียเบียร์ที่สายการบรรจุ และส่งผลให้
       อายุการเก็บรักษายาวนานสูงสุด



                                                                                บริษัท เมทเล่อร์-โทเลโด (ประเทศไทย) จ�ำกัด
                                                                                    Mettler-Toledo (Thailand) Limited
                                                                                    MT-TH.CustomerSupport@mt.com

       หมดปัญหาเรื่องโพลาไรเซชันของเซ็นเซอร์ DO                มีความยืดหยุ่น รองรับหัววัดได้หลายประเภทจึงสามารถใช้ได้ในกระบวนการ
       เป็นเวลาหลายปีมาแล้วที่เซ็นเซอร์ DO แบบแอมเพอโรเมตริกใช้งานได้                   ต่างๆ หลายขั้นตอนของการผลิตเบียร์
       เป็นอย่างดีในอุตสาหกรรมผลิตเบียร์ แต่ก็ใช่ว่าจะไม่มีปัญหาใดๆ เลย สิ่งที่ต้อง
       เป็นห่วงส�าหรับเซ็นเซอร์ DO แบบแอมเพอโรเมตริกก็คือ ระยะเวลาการโพลาไรเซชัน   ระบบการวินิจฉัยที่จะแจ้งให้ทราบเมื่อถึงเวลาที่จ�าเป็นต้อง
       ระยะเวลาในการบ�ารุงรักษา การเบี่ยงเบนของการวัดค่า และความเร็วในการวัดค่า          ท�าการบ�ารุงรักษา  1  3
       ซึ่งเป็นสาเหตุที่ท�าให้เทคโนโลยีการวัดปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน�้าแบบออพติคัล  เซ็นเซอร์ DO แบบออพติคัล  และทรานส์มิเตอร์  มีเทคโนโลยีการบริหาร
                                                                                             4
       ก�าลังกลายเป็นมาตรฐานใหม่ในการวัดค่า DO                 จัดการเซ็นเซอร์ที่เฉลียวฉลาดเป็นเอกลักษณ์  ซึ่งเซ็นเซอร์ที่มีเทคโนโลยี
                                                               อัจฉริยะนี้จะมีชุดเครื่องมือการวินิจฉัยปัญหาที่น�าสมัย ตัวอย่างเช่น
       เทคโนโลยีแบบออพติคัลสามารถวัดค่าได้อย่างรวดเร็ว         ตัวบ่งชี้อายุการใช้งานแบบไดนามิก (Dynamic lifetime indicator)
       เซ็นเซอร์แบบออพติคัลไม่มีอิเล็กโทรไลต์ ดังนั้น จึงไม่จ�าเป็นต้องมีการ-                     ที่จะติดตามสภาพของส่วนประกอบที่ตรวจวัดออกซิเจน  หลังจากการ-
                                                                                                     2
       โพลาไรเซชันและเนื่องจากว่าไม่มีอิเล็กโทรไลต์และเมมเบรนภายใน จึงท�าให้  สอบเทียบแต่ละครั้งจะค�านวณและแสดงระยะเวลาการใช้งานที่เหลือ
       เซ็นเซอร์แบบออพติคัลต้องการการบ�ารุงรักษาที่ต�่ามาก เมื่อเปรียบเทียบกับ          บนหน้าจอแสดงผลร่วมกับค่าการวัดที่เกิดขึ้นในขณะนั้น
       หัววัดแบบแอมเพอโรเมตริก เซ็นเซอร์แบบออพติคัลมีความเสถียรของสัญญาณ
       ที่สูงกว่ามาก นอกจากนี้ เซ็นเซอร์แบบออพติคัลยังวัดค่าได้อย่างรวดเร็วมาก      เซ็นเซอร์ที่ถูกเก็บไว้หลังจากสอบเทียบเสร็จสามารถใช้งานได้ทันที
       โดยให้อัตราการตอบสนองที่ร้อยละ 98 ของค่าจริงในเวลาไม่ถึง 20 วินาที                ข้อมูลเซ็นเซอร์ทั้งหมดรวมทั้งประวัติการสอบเทียบจะถูกเก็บไว้ใน
       ซึ่งจะช่วยลดผลิตภัณฑ์ที่เคยสูญเสียไปได้มากที่สายการบรรจุ  ตัวเซ็นเซอร์ ซึ่งหมายความว่าหลังจากท�าการบ�ารุงรักษาและการสอบเทียบ
          เซ็นเซอร์วัดปริมาณออกซิเจนที่ละลายน�้าแบบออพติคัล  รุ่นใหม่ในปัจจุบัน    การติดตั้งเข้าไปในกระบวนการผลิตก็จะกลายเป็นเรื่องง่ายเนื่องจาก
                                              1
                                                                                                  4
       ได้รับการออกแบบเพื่อรองรับการใช้งานในอุตสาหกรรมการผลิตเบียร์โดยเฉพาะ   เทคโนโลยีการบริหารจัดการเซ็นเซอร์พิเศษอัจฉริยะ  สามารถ Plug &
                                                                                                   3
       เซ็นเซอร์ถูกออกแบบมาให้ทนต่อการท�าความสะอาดและฆ่าเชื้อไม่ว่าจะเป็น    Measure โดยทันทีที่เสียบเซ็นเซอร์เข้ากับทรานส์มิเตอร์  ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
       การท�า CIP และ SIP ได้ ยิ่งไปกว่านั้นยังมีความทนทานสูงต่อการกระแทก               ทั้งหมดจะถูกถ่ายโอนไปยังทรานส์มิเตอร์โดยอัตโนมัติ และพร้อมวัดค่า
                                                                                            1
       ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจากแรงดัน และอุณหภูมิ และผลกระทบ       ออกซิเจนได้ทันที ทั้งการสอบเทียบเซ็นเซอร์  สามารถท�าได้ล่วงหน้า และ
       จากการหยุดไหลกะทันหันที่ท�าให้หัววัดแบบแอมเพอโรเมตริกสร้างสัญญาณเตือน         จัดเก็บไว้เพื่อให้พร้อมส�าหรับการใช้งาน ช่วยให้การเปลี่ยนเซ็นเซอร์นั้น
                               ที่ผิดพลาด (False alarm)        รวดเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น
                                  นอกจากนี้  เซ็นเซอร์วัดปริมาณ  เซ็นเซอร์ที่ออกแบบมาเพื่อตอบสนองความต้องการของ
                               ออกซิเจนที่ละลายในน�้าแบบออพติคัล 1    อุตสาหกรรมการผลิตเบียร์
                               ยังมีเพียงแค่อุปกรณ์ตรวจวัดออกซิเจน 2   ด้วยการผสานรวมกันระหว่างเทคโนโลยีการวัดแบบใช้แสง เทคโนโลยีการ-
                               เพียงชิ้นเดียวเท่านั้นที่นับเป็นวัสดุ                บริหารจัดการเซ็นเซอร์อัจฉริยะที่เป็นเอกลักษณ์  และประสบการณ์
                                                                                                 4
                               สิ้นเปลืองที่มีการถอดเปลี่ยนที่ง่าย ใช้เวลา  อันยาวนานในการออกแบบเซ็นเซอร์ส�าหรับอุตสาหกรรมการผลิตเบียร์
                               ไม่ถึงหนึ่งนาที ซึ่งเปลี่ยนเพียงแค่ปีละครั้ง  จึงท�าให้เซ็นเซอร์วัดปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน�้าแบบออพติคัล
                                                                                                               1
                               เท่านั้น                        เป็นเซ็นเซอร์วัดปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน�้าที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด
                                  ทรานส์มิเตอร์  ที่ใช้ร่วมกับเซ็นเซอร์  และน่าเชื่อถือมากที่สุดในท้องตลาดปัจจุบัน
                                            3
                               นั้นเป็นเครื่องส่งสัญญานที่ใช้งานง่ายและ
       58  FOOD FOCUS THAILAND  JUN  2018
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67