Page 64 - 147
P. 64

ยุวาณี อุ้ยนอง
                                                                                        Yuwanee Ouinong
                                                                             Economic Intelligence Center (EIC)
                                                                                 yuwanee.ouinong@scb.co.th
       SOURCE OF ENGINEER
       SOURCE OF ENGINEER                                          Siam Commercial Bank Public Company Limited












                                    เทคโนโลยีการผสม
                                    เทคโนโลยีการผสม





                                      ของแข็งที่อยู่ในรูปผงหรือเม็ด














                                                                            S. Ghelft, Ph.D.
                                                                            A. Zucchelli, Ph.D.
                                                                            Mechanical, Nuclear and Aerospace Department (DIEM)
          การผสมของแข็งที่อยู่ในรูปผงหรือเม็ดเป็นการเปลี่ยนแปลง             Faculty of Engineering, University of Bologna, ITALY
                                                                            WAM Bulk Handling Equipment Industry (Thailand) Co., Ltd.
          ลักษณะทางกายภาพของของแข็ง ซึ่งมีวัตถุประสงค์ให้รวมเป็น
          เนื้อเดียวกัน  โดยส่วนผสมนั้นเป็นของแข็งทั้งสองชนิดหรือ  ลักษณะการเคลื่อนที่ ขนาดและความเหนียวของส่วนผสม ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว
          มากกว่านั้น                                           การผสมของวัตถุที่เป็นของแข็งจะไม่สมบูรณ์แบบ แต่มีจุดมุ่งหมายคือ
                                                                การกระจายตัวที่สม�่าเสมอของส่วนผสมโดยเท่าเทียมกันของวัตถุดิบ (การผสม

            การผสมเกิดขึ้นจากกลไกที่แตกต่างกัน 3 ประการ อันได้แก่ การกระจาย  แบบสุ่ม)
          ตัว การไหลเวียน และการตัดเฉือน ส่วนอุปกรณ์ที่ใช้ส�าหรับการท�างานนี้  เครื่องผสมใบพัดแบบ
          สามารถแบ่งได้ตามเงื่อนไขของการผสม โดยสามารถจ�าแนกเป็น ภาชนะเครื่อง  โรตารีประกอบไปด้วยกรวยทรง-
          ผสมเคลื่อนที่ (Moving casing mixers) และภาชนะเครื่องผสมอยู่กับที่ (Fixed   กระบอก ภายในมีเพลาแนวนอน
          casing mixers)                                        หมุนอยู่ซึ่งติดตั้งด้วยใบมีด
            ภาชนะเครื่องผสมเคลื่อนที่ หรือถังผสมแบบหมุน (Rotating drum)                 (Ploughshare ) หรือใบกวาดรูปโค้ง (Arc-shaped blades) โดยการหมุนของใบ
          ตัวถังจะมีรูปทรงหลากหลายรูปแบบที่แตกต่างกันไป เช่น ทรงกระบอก                   จะช่วยให้วัตถุยกตัวขึ้นจากผนังของตัวถังและมีก�าลังเคลื่อนย้ายอย่างบ่อยครั้ง
          ทรงกรวย ทรงกรวยสองชั้น ฯลฯ ในบางครั้งจะมีแผ่นกั้นด้านในถังซึ่งสามารถ  และในเครื่องผสมมีอุปกรณ์ที่มีความสามารถท�าลายวัตถุที่เป็นก้อนให้แตกออก
          หมุนรอบแกนได้ ส�าหรับในการผสมนั้นส่วนใหญ่จะเป็นแบบการกระจาย                 ในการผสมในแต่ละครั้ง
          ซึ่งเหมาะอย่างยิ่งส�าหรับการผสมวัตถุที่มีส่วนประกอบทางกายภาพ                       A ribbon mixer เครื่องผสม
          ในลักษณะที่เหมือนกัน (โดยเฉพาะขนาดอนุภาค และความหนาแน่น                 แบบริบบ้อน เครื่องผสมชนิดนี้
          ของอนุภาค)                                            ภายในถังจะประกอบด้วยแกน
             ส�าหรับวัตถุที่มีความเหนียวสูงหรือการจับตัวเป็นก้อนนั้น ต้องมีเครื่องมือ  ตามแนวนอน  โดยปกติแล้ว
          ที่ท�าให้วัตถุแตกตัว จึงจ�าเป็นต้องมีอุปกรณ์ที่มีความสามารถในการตัดสูง          ใบกวนจะท�างานในทิศทาง
          และสามารถน�าพาความร้อนได้ดี เช่น เครื่องผสมที่เป็น Fixed casing mixer   ตรงข้ามกัน  การผสมวัตถุที่
          ซึ่งเครื่องผสมชนิดนี้จะมีชิ้นส่วนภายในตัวเครื่องเป็นตัวเคลื่อนย้ายวัตถุ  เกิดขึ้นจะหมุนตามการเคลื่อนไหวของรัศมีของใบกวน ซึ่งการเคลื่อนที่ของวัตถุ
                                                                ตามแนวแกนค่อนข้างมีจ�ากัด
          คุณภาพของการผสมส่วนใหญ่เป็นผลมาจากหลายปัจจัย             A double-shaft mixer เครื่องผสมแบบสองเพลาจะประกอบด้วยถังผสม
          ไม่ว่าจะเป็นความเร็วเฉลี่ยของมวล รูปแบบและลักษณะของห้องผสม             ที่อยู่ภายใน โดยวางเพลา 2 เพลาให้หมุนในทิศทางตรงกันข้ามกันและให้มี
          ความยาวและรูปทรงของชิ้นส่วนเครื่องผสม ความหนาแน่นของวัตถุ             ความเร็วที่ต่างกัน อีกทั้งการติดตั้งใบสลับกันเพื่อเป็นการสร้างพื้นฐานของ
                                                                วัตถุให้อยู่ในพื้นที่ที่เป็นจุดตัดของสองแกนเพลา ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหลังจาก

       60 FOOD FOCUS THAILAND  JUN  2018
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69