Page 38 - 150
P. 38

SPECIAL FOCUS
       SPECIAL FOCUS

                    กรณ์อัฐชญา วีณุตตรานนท์
                    Kornautchaya Veenuttranon
                    Researcher, Yamamori R&D Center
                    Yamamori Trading Co., Ltd.
                    Kornautchaya@yamamoritrading.com
       Stepping up in



       Silver Food and Care Food





       The New Trends of Healthy and Functional Food for Thai Society

      ก้าวเข้าสู่เทรนด์อาหารแนวใหม่ของสังคมไทย...อาหารส�าหรับผู้สูงอายุและแคร์ฟู้ด

      นวัตกรรมเป็นส่วนส�ำคัญในกำรสร้ำงสรรค์อำหำรในรูปแบบใหม่ๆ เช่น อำหำรเชิงสุขภำพและอำหำรฟังก์ชัน (อำหำรเชิงหน้ำที่)
      ในขณะที่ปัจจุบันสถำนกำรณ์กำรเพิ่มขึ้นของประชำกรผู้สูงอำยุ  มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื่องทั่วโลกส่งผลต่อควำมต้องกำร
                                                           1
      ในตลำดอำหำรที่เปลี่ยนแปลงไป ดังเช่นในไทยและญี่ปุ่น ซึ่งกำรปรับขยำยตลำดอำหำรเพื่อรองรับกำรเพิ่มขึ้นของประชำกรกลุ่มนี้

      เป็นสิ่งที่จ�ำเป็น


         เมื่อนึกถึงฟังก์ชันของอาหารสิ่งแรกที่ผู้บริโภคสนใจ คือ คุณค่า/สารอาหาร         สถานการณ์นี้ จึงจัดตั้งหน่วยงาน “The Council of Smile Care Food” ในปี
       แต่ลึกไปกว่านั้นเราก็ต้องการรับประทานอาหารอย่างมีความสุข โดยปกติ               พ.ศ. 2556 และจัดท�ามาตรฐานอาหารโดยรวบรวมมาตรฐานขององค์กรเอกชน
       ความสามารถในการรับประทานอาหารจะเสื่อมถอยไปตามวัยและความเจ็บป่วย           ที่มีอยู่ขึ้นเป็นมาตรฐานใหม่ชื่อว่า “Smile-Care Food” ในปี พ.ศ. 2557 (รูปที่ 2)
       ถึงอย่างนั้นมนุษย์ก็ยังต้องการที่จะรับประทานอาหารอย่างมีความสุขเช่นดังเดิม      ส�าหรับประเทศไทย เมื่อพูดถึงค�าว่าอาหารส�าหรับผู้สูงอายุ (Silver food)
       ดังนั้น การเลือกอาหารที่เหมาะสมจะสามารถช่วยบ�าบัดฟื้นฟูความสามารถ                และแคร์ฟู้ด (Care food) นั้นคงยังเป็นค�าที่ไม่คุ้นหูของสังคมไทย ดังนั้น
       ในการรับประทานได้                                      เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ตระหนักรู้ในเบื้องต้นนั้น ส�านักโภชนาการภายใต้
         ญี่ปุ่นก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุมาเป็นเวลายาวนานกว่าไทย ผ่านการพัฒนา                กระทรวงสาธารณสุขได้มีการจัดท�าธงโภชนาการขึ้นเพื่อเป็นค�าแนะน�าในการ-
       ทั้งผลิตภัณฑ์และมาตรฐานอาหารขึ้นส�าหรับทั้งผู้สูงอายุและผู้ประสบปัญหา           บริโภคอาหารเพื่อมีสุขภาพที่ดี และนอกเหนือไปจากนี้ยังมีกลุ่มของหน่วยงานรัฐ
       การรับประทาน ซึ่งในบทความนี้จะอธิบายถึงการจัดท�ามาตรฐานและการแบ่ง  เช่น ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และ
       ประเภทอาหารดังกล่าวของญี่ปุ่นรวมไปถึงภาพรวมของสถานการณ์เหล่านั้น              ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้ร่วมมือกันสร้างเครือข่าย Care
       ในประเทศไทย                                            food ขึ้น เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการวิจัยและพัฒนาอาหารเพื่อรองรับสังคม
         ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2546 “Japan Care Food Conference” ซึ่งเป็นองค์กร  ผู้สูงอายุ โดยสมบูรณ์ที่จะเกิดขึ้นในประเทศไทยในอีก 3- 5 ปีข้างหน้า 2,3
       เอกชน ได้จัดท�ามาตรฐาน “Universal Design Foods” ขึ้น เพื่อแบ่งประเภทของ  อย่างไรก็ตาม การขับเคลื่อนในแง่มุมต่างๆ ล้วนใหม่ต่อสังคมไทย หลาย
       อาหารตามเกณฑ์เนื้อสัมผัสและความข้นหนืดของอาหารออกเป็น 4 ประเภท             ภาคส่วนได้เริ่มศึกษาอย่างจริงจังเพื่อการจัดท�ามาตรฐานและฉลาก จากบทเรียน
       ดังรูปที่ 1 ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่อาหารปกติทั่วไปจนถึงอาหารผู้สูงอายุ/Care food   ของญี่ปุ่น จะเห็นได้ว่าการร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและเอกชนนั้นส�าคัญเป็น
       นอกจากนี้ยังมีองค์กรเอกชนอื่นๆ ได้จัดท�ามาตรฐานเช่นเดียวกันนี้ขึ้นด้วย       อย่างยิ่ง ยิ่งไปกว่านั้นความร่วมมือจากหลากหลายประเทศก็จะช่วยให้
       อย่างไรก็ตาม จากการส�ารวจในปี พ.ศ. 2555 พบว่าชาวญี่ปุ่นกว่าร้อยละ 70 รู้จัก  กระบวนการสร้างมาตรฐานเกิดขึ้นได้เร็วยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ประเทศญี่ปุ่นเองที่เคยมี
       อาหารกลุ่มนี้ แต่มีเพียงร้อยละ 30 เคยเลือกรับประทาน รัฐบาลญี่ปุ่นตระหนักถึง  ประสบการณ์ในการจัดท�ามาตรฐานดังกล่าวได้มีข้อเสนอที่จะร่วมเป็นส่วนหนึ่ง
                                                              ในการจัดท�ามาตรฐานอาหารผู้สูงอายุของไทยให้เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ

                       ประเภท/Classification                     อาหารไม่เพียงแต่ให้คุณประโยชน์ด้านสารอาหารที่ดีต่อร่างกาย
                                                              แต่ยังต้องสามารถให้ความพึงพอใจในการรับประทานแก่ผู้บริโภคด้วย ดังนั้น
                                                              ความท้าทายคือการพัฒนาอาหารให้มีลักษณะเหมือนกับอาหารปกติทั่วไป
                                                              ทั้งรสชาติและหน้าตาเพื่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผู้บริโภค


                                                                เอกสารอ้างอิง/References
                                                                1 The United Nations. (2018). Ageing. Retrieved from http://www.un.org/en/sections/
                                                                2 The United Nations. (2016). Population - SYB 2015. Retrieved from https://www.
         รูปที่ 1 การแบ่งประเภทของอาหารตามเกณฑ์เนื้อสัมผัสและความข้นหนืดของอาหาร    is sues-depth/ageing/
                 Figure 1 The Universal Design Food Classification    unescap. org/resources/population-syb-2015
                                                                3  National Science and Technology Development Agency. (2017). 7 หน่วยงานรัฐ
                                                                  จับมือสร้างเครือข่ายแคร์ฟู้ดขับเคลื่อนการวิจัยและพัฒนาอาหารรองรับสังคมผู้สูงอายุไทย.
       36  FOOD FOCUS THAILAND  SEP  2018                         Retrieved from https://www.nstda.or.th/th/news/5177-20170322-care-food
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43