Page 73 - 150
P. 73
SPECIAL REPORT
การบริโภคยุคดิจิทัล เป้ำหมำยของผู้บริโภคชาวไทยในปี 2561
ในขณะเดียวกัน โลกดิจิทัลก�ำลังวำงกรอบแนวคิดในเรื่องของกำรบริโภค
ข้อมูลข่ำวสำร และสร้ำงอิทธิพลต่อผู้บริโภคชำวไทย งำนวิจัยระบุว่ำร้อยละ
63 ของผู้บริโภคชำวไทยเลือกซื้อสินค้ำและบริกำรที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภำพ
จำกกำรอ่ำนข้อมูลออนไลน์เป็นหลัก ในขณะที่กว่ำครึ่ง หรือร้อยละ 54
เลือกซื้อตำมอิทธิพลของสังคมออนไลน์ โซเชียลมีเดีย หรือตำมบล็อกเกอร์
นอกจำกนั้น อีกร้อยละ 59 ระบุว่ำสินค้ำประเภทควำมสวยควำมงำมได้รับ
อิทธิพลมำจำกสังคมออนไลน์หรือบล็อก ท้ำยที่สุดร้อยละ 56 กล่ำวว่ำ
พวกเขำค้นหำข้อมูลผ่ำนออนไลน์และเซิร์ชเอนจินส์
ด้วยตัวเลือกที่มีมำกมำยในตลำด ผู้บริโภคอำจจะเริ่มเอนเอียงหันไป
เลือกบริโภคผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์และช่วยให้กำรตัดสินใจซื้อเป็นเรื่องง่ำย
มำกขึ้น อีกทั้งยังสำมำรถสนับสนุนกำรปฏิวัติตนเองให้ดีกว่ำเก่ำได้ ดังนั้น โอกาสของการบริโภคผลิตภัณฑ์จากพืชผัก
เพื่อให้ตอบโจทย์และสร้ำงควำมโดดเด่นกว่ำผลิตภัณฑ์อื่นในตลำด จึงจ�ำเป็น ท้ำยที่สุด ผู้บริโภคชำวไทยค่อยๆ ปรับควำมชอบของตัวเองไปในทำงกำรบริโภคพืชผัก
ต้องหันมำพิจำรณำที่จะเสนอค�ำแนะน�ำอันเป็นประโยชน์อันจะช่วยให้เกิด มำกขึ้น ร้อยละ 76 ระบุว่ำพวกเขำคิดเห็นว่ำโปรตีนจำกพืช อย่ำงเช่น พืชตระกูลถั่ว
กำรตัดสินใจได้ง่ำยขึ้นด้วย จำกรำยงำนกำรวิจัย ผลิตภัณฑ์ต่ำงๆ สำมำรถ มีคุณค่ำทำงโภชนำกำรเหมือนกับโปรตีนที่มำจำกเนื้อสัตว์ หรือไข่ ในขณะที่
ใช้พลังจำกช่องทำงกำรสื่อสำรดิจิทัลมำช่วยสนับสนุนและรับรองว่ำ มำกกว่ำร้อยละ 55 เห็นด้วยว่ำโปรตีนจำกพืชนั้นมีรสชำติที่ดีกว่ำโปรตีนจำกสัตว์
ผลิตภัณฑ์เหล่ำนั้นจะอยู่ในใจผู้บริโภคคนไทยเป็นอันดับต้นๆ อย่ำงแน่นอน ทั้งนี้ เพื่อให้กำรศึกษำเป็นไปในเชิงลึกมำกขึ้น กำรวิจัยไปถึงพฤติกรรมและ
ทั้งนี้ โดยเฉพำะในปัจจุบันที่ผู้บริโภคล้วนแต่ใช้ช่องทำงกำรสื่อสำรออนไลน์ ไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคชำวไทยเป็นสิ่งที่จ�ำเป็น บริษัทต่ำงๆ ควรปฏิวัติผลิตภัณฑ์
มำกขึ้นเรื่อยๆ ของตัวเอง ไม่ว่ำจะอยู่ในรูปแบบสินค้ำประเภทใดให้เดินหน้ำสู่ควำมเป็นธรรมชำติ
สินค้ำประเภทติดตำมข้อมูลสุขภำพที่สวมใส่ติดตัว หรือกำรเก็บข้อมูล เพรำะมีควำมต้องกำรในตลำดที่ล้นเหลือ นอกจำกนั้น ผู้บริโภคเองก็ชื่นชอบสินค้ำ
กำรบริโภคของประชำชน จะเป็นผู้เล่นส�ำคัญในอนำคต เพรำะจะเป็นตัวช่วย จำกธรรมชำติที่มีควำมง่ำยและมีโภชนำกำรที่ยืดหยุ่น กำรหันมำบริโภคโปรตีนจำก
ในเรื่องกำรออกแบบสินค้ำที่ตอบโจทย์ผู้บริโภคได้ดียิ่งขึ้น คำดว่ำอีกไม่นำน พืชจะเป็นทำงเลือกใหม่ที่ผู้บริโภคยุคนี้มองหำ เนื่องจำกมีคุณค่ำทำงโภชนำกำร
ระบบข้อมูลต่ำงๆ เหล่ำนี้จะเชื่อมโยงถึงกัน และไม่เพียงแต่จะช่วยนักกำรตลำด และรสชำติเช่นเดียวกับผลิตภัณฑ์อำหำรและเครื่องดื่มจำกสัตว์
เท่ำนั้น แต่ผู้บริโภคเองก็เก็บข้อมูลของตัวเองได้ด้วย และท้ำยที่สุดกลุ่ม
ผู้บริโภคเองจะสำมำรถรู้ถึงเป้ำหมำยชีวิตในด้ำนต่ำงๆ จำกกำรวิเครำะห์
ข้อมูลที่ได้มำจำกอุปกรณ์ไฮเทคซึ่งสำมำรถพกติดตัว และเก็บข้อมูลจำกกำร-
เคลื่อนไหว รวมถึงข้อมูลพฤติกรรมต่ำงๆ เทคโนโลยีท�ำให้เรำเห็นและได้ยิน
ข้อมูลเหล่ำนี้ และเรียนรู้จำกมัน ก่อนที่จะวำงแผนเพื่อตอบสนองข้อมูล
ดังกล่ำว โดยพบว่ำร้อยละ 39 ของกลุ่มผู้บริโภคในประเทศไทยเริ่มมีอุปกรณ์
เหล่ำนี้อยู่ในครัวเรือน และเป็นเจ้ำของใช้งำนเอง
การรักษาสมดุลธรรมชาติ
ในภำพรวม ผู้บริโภคชำวไทยปรำรถนำที่จะมีคุณภำพชีวิตและมีสุขภำพ
ที่ดีขึ้น แต่นิยำมของกำรมีสุขภำพดีส�ำหรับพวกเขำในวันนี้ นักวิจัยเน้นย�้ำว่ำ
ร้อยละ 67 ของผู้บริโภคชำวไทยให้นิยำมว่ำ คือ “อำหำรที่ดี” ซึ่งประกอบด้วย
วัตถุดิบที่เป็นธรรมชำติ ในขณะที่ร้อยละ 61 บอกว่ำต้องมีไขมันต�่ำ และ
ร้อยละ 56 มองว่ำต้องเป็นสินค้ำออร์แกนิก ส่วนผู้บริโภคอีกร้อยละ 55
ระบุว่ำต้องมีแคลอรีต�่ำ และร้อยละ 54 ระบุว่ำต้องมีปริมำณน�้ำตำลน้อย
นอกจำกนั้น มำกกว่ำครึ่งหรือร้อยละ 53 พยำยำมหลีกเลี่ยงไขมันอิ่มตัว
และร้อยละ 43 ไม่บริโภคน�้ำตำลขัดสี ร้อยละ 33 ระมัดระวังกำรบริโภคเกลือ
และอีกร้อยละ 33 ระวังกำรบริโภคเนื้อแดง ตำมล�ำดับ
ในขณะเดียวกัน มีรำยงำนว่ำบริษัทผู้ผลิตสินค้ำประเภทอำหำร
เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์ส่วนบุคคล และควำมงำม ต่ำงเริ่มตระหนักดีถึงควำม-
ต้องกำรของผู้บริโภคในกำรเลือกใช้สินค้ำที่มีควำมเป็นธรรมชำติ โดยจำก
2
ข้อมูล พบว่ำร้อยละ 41 ของผลิตภัณฑ์ดังกล่ำวข้ำงต้นที่เปิดตัวในตลำด
ประเทศไทยเมื่อปีที่ผ่ำนมำนั้นมีส่วนผสมของธรรมชำติ ซึ่งตัวเลขดังกล่ำว
เพิ่มขึ้นกว่ำปี 2553 อยู่ถึงร้อยละ 34
SEP 2018 FOOD FOCUS THAILAND 71