Page 37 - FoodFocusThailand No.154 January 2019
P. 37

STRONG QC & QA



                     พืชเป็นแหล่งก�าเนิดที่ส�าคัญส�าหรับใช้ในการ-
                  ปลอมปนในน�้าผึ้ง ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 2
                  ประเภท คือ พืช C3 และพืช C4 โดยพืชที่อาศัย
                  การตรึงก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยวัฎจักร Calvin
                  เรียกว่า พืช C3 ซึ่งจะมีค่าไอโซโทปเสถียรของ
                  คาร์บอน-13 ต่อ คาร์บอน-12 ต�่ากว่าของพืช C4 ซึ่ง
                  ตรึงก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยวัฎจักร Hatch-Slack
                  โดยน�้าผึ้งส่วนมากจะได้น�้าหวานจากพืช C3 เป็นหลัก
                  ส�าหรับในประเทศไทยการปลอมปนของน�้าผึ้งจะใช้
                  น�้าตาลจากพืช C4 ได้แก่ น�้าตาลจากอ้อยเพราะ
                  มีราคาถูก
                     เทคนิคไอโซโทปเสถียรในน�้าตาลและโปรตีน
                  ในน�้าผึ้งสามารถน�ามาประยุกต์ใช้ในการตรวจสอบ
                  การปลอมปนของน�้าผึ้งได้โดยการใช้เครื่อง EA-IRMS         รูปที่ 1 การตรวจสอบน�้าผึ้งด้วยวิธีวัดอัตราส่วนของคาร์บอน
                  อาศัยเกณฑ์ที่ว่า ถ้าคาร์บอน-13 ในน�้าตาลมีค่า-           Fig 1 Stable isotope techniques of honey samples
                  น้อยกว่า -23.5 ‰ โดยค่า -23. 5 เป็นค่าที่ใช้อ้างอิง
                  ในการตรวจพิสูจน์ความแท้ของน�้าผึ้ง และความ-        ของน�้าผึ้งได้
                  แตกต่างกันของค่าไอโซโทปของคาร์บอน-13 ใน    อย่างไรก็ตาม หากมีการก�าหนดมาตรฐานในการตรวจสอบด้วยเทคนิคอัตราส่วนของคาร์บอน
                  น�้าตาล และโปรตีนแตกต่างกันน้อยกว่า 1 ‰ แสดง  ไว้ในมาตรฐานการตรวจสอบคุณภาพของน�้าผึ้งของประเทศไทยจะท�าให้ผู้บริโภคและผู้แทนจ�าหน่าย
                  ว่าเป็นน�้าผึ้งแท้จากธรรมชาติ           น�้าผึ้งไทยเกิดความเชื่อมั่นในระยะยาว ซึ่งจะท�าให้ผลิตภัณฑ์น�้าผึ้งเกิดการปลอมปนยากขึ้น และ
                     การตรวจวัดด้วยเทคนิคคาร์บอนไอโซโทป   ท�าให้เกิดการแข่งขันกันด้วยความเป็นธรรม และมีราคาดีขึ้น เนื่องจากไม่มีการตัดราคากัน
                  ของห้องปฏิบัติการมีค่าความแม่นย�า 0.2 ‰
                  สมการการค�านวณหาค่าไอโซโทปเสถียรของ
                  คาร์บอน-13
 เทคโนโลยีการตรวจสอบ  สมการการค�านวณหาค่าความแตกต่างของค่า


 การปลอมปนของน�้าผึ้ง  ไอโซโทปเสถียรในโปรตีน กับ น�้าผึ้ง




                     นอกจากนั้นยังสามารถหาปริมาณการปลอม-
                  ปนของน�้าผึ้งที่มาจากพืช C4 ได้จากสมการ






                     จากรูปที่  1  การตรวจสอบน�้าผึ้งด้วยวิธีวัด
                  อัตราส่วนของคาร์บอน จ�านวน 11 ตัวอย่างพบว่า
                  น�้าผึ้งรหัส A1 มีค่า -20 ‰ VPDB ซึ่งมีค่ามากกว่า
                  -23.5 ‰ VPDB แสดงว่าเป็นน�้าผึ้งที่มีการปลอมปน
                  จากน�้าตาลที่มาจากพืช C4 จ�านวนตัวอย่างน�้าผึ้งที่
                  เหลือเป็นน�้าผึ้งแท้ปราศจากการปลอมปน ในปัจจุบัน
                  ทางสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การ
                  มหาชน) สทน. สามารถพัฒนาวิธีการตรวจวัด
                  อัตราส่วนของคาร์บอน-13 ในน�้าผึ้ง และโปรตีนที่อยู่
                  ในน�้าผึ้ง ซึ่งสามารถใช้ในการตรวจสอบการปลอมปน

                                                                                                   JAN  2019 FOOD FOCUS THAILAND  37


         36-38_Strong QC&QA_�������.indd   37                                                                       21/12/2561 BE   10:21
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42