Page 26 - FoodFocusThailand No.156 March 2019
P. 26

SPECIAL FOCUS
            SPECIAL FOCUS
            SPECIAL FOCUS                                             ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนิฐพร วังใน
                                                                      Assistant Professor Kanithaporn Vangnai, Ph.D.
                                                                      Department of Food Science and Technology
                                                                      Faculty of Agro-Industry, Kasetsart University
                                                                      kanithaporn.v@ku.th
                                                         ปัญหา




                                                         “สีชมพูไม่พึงประสงค์”




                                                       ในเนื้อไก่ปรุงสุก:



                                                       สาเหตุและแนวทางป้องกัน



                                                       การเกิดสีชมพูไม่พึงประสงค์  (Pink  color  defect)  เป็นการเกิดสีชมพูที่
                                                       ไม่ต้องการในกลุ่มผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ปรุงสุกที่ไม่ได้มีการใช้เกลือไนไตรท์หรือ
                                                       เกลือไนเตรทเป็นส่วนประกอบ ปัญหาการเกิดสีชมพูไม่พึงประสงค์นี้เป็นปัญหา
                                                       ส�าคัญที่พบในอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และสัตว์ปีกทั่วโลก ถึงแม้ว่าปัญหาดังกล่าว

                                                       จะเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว แต่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการยอมรับของผู้บริโภค โดย
                                                       ท�าให้ผู้บริโภคเข้าใจผิดว่าผลิตภัณฑ์ยังปรุงสุกไม่เพียงพอ ทั้งที่ความจริงผู้ผลิต
                                                       ได้ปรุงสุกจนอุณหภูมิภายในผลิตภัณฑ์ถึงเกณฑ์ยอมรับด้านความปลอดภัย

                                                       แล้ว จึงน�าไปสู่การคืนสินค้าหรือการต้องลดราคาสินค้าของผู้ผลิตและผู้จ�าหน่าย
                                                       สินค้า



               เนื้อไก่ปรุงสุกมีโอกาสการเกิดสีชมพูไม่พึงประสงค์มากกว่าเนื้อหมู               ก่อนจะท�าปฏิกิริยากับโมเลกุลของไมโอโกลบินเกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อน
             และเนื้อวัวที่ปรุงสุก เนื่องจากเนื้อไก่มีปริมาณไมโอโกลบินซึ่งเป็นสาร                   ไนโตรซิลฮีโมโครมเช่นเดียวกัน โดยไนเตรทเป็นแหล่งของสารประกอบ
             รงควัตถุธรรมชาติในกล้ามเนื้อสัตว์น้อยกว่าในเนื้อหมูและเนื้อวัว ท�าให้เมื่อ  ไนโตรเจนที่ส�าคัญต่อการปลูกพืชทุกชนิด พบได้ในดินตามธรรมชาติหรือจาก
             ผ่านการปรุงสุกเนื้อไก่จะมีสีน�้าตาลอ่อน ในขณะที่เนื้อหมูและเนื้อวัวเมื่อผ่าน  ปุ๋ยเคมีที่ใส่เสริมให้กับพืช บ่อยครั้งที่มีการปนเปื้อนของไนเตรทลงสู่ดิน
             การปรุงสุกจะมีสีน�้าตาลที่เข้มกว่า ท�าให้โอกาสการเห็นสีชมพูไม่พึงประสงค์  และแหล่งน�้าทางธรรมชาติ จึงมีโอกาสที่ไนเตรทจะปนเปื้อนในน�้าที่ใช้ในการ-
             ในเนื้อไก่ปรุงสุกจึงมีมากกว่า                         เชือดไก่หรือน�้าที่ใช้ในระหว่างกระบวนการผลิตโดยเฉพาะในช่วงฤดูร้อน
               สาเหตุหลักๆ ที่ก่อให้เกิดการเกิดสีชมพูที่ไม่พึงประสงค์ในเนื้อไก่  นอกจากนี้ การปนเปื้อนของไนเตรทในเนื้อไก่อาจเป็นสาเหตุมาจาก
             ปรุงสุกมักเกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ ดังนี้             อาหารสัตว์ที่มีปริมาณไนเตรทสูงได้เช่นกัน ดังนั้นหากพบการปนเปื้อนของ
               1. การปนเปื้อนของไนไตรท์หรือไนเตรทในกระบวนการผลิต             ไนไตรท์หรือไนเตรทสูงในน�้าที่ใช้ในโรงงาน โรงงานควรมีมาตรการควบคุม
             เมื่อไนไตรท์ท�าปฏิกิริยากับไมโอโกลบินก็จะเกิดสารประกอบเชิงซ้อน               เฉพาะเพื่อลดปริมาณไนเตรทเพื่อป้องกันการเกิดสีชมพูไม่พึงประสงค์
             เรียกว่า ไนตริกออกไซด์ไมโอโกลบิน (Nitric oxide myoglobin) และเมื่อให้  ในผลิตภัณฑ์
             ความร้อนจะเปลี่ยนเป็นสารประกอบเชิงซ้อนไนโตรซิลฮีโมโครม (Nitrosyl-   2. การใช้เกลือในสูตรการผลิต ในระหว่างการปรุงสุกนั้น เมื่อได้รับ
             hemochrome) ที่มีสีชมพู มีความเสถียรต่อความร้อน บ่อยครั้งพบว่ามีการ-   ความร้อนโมเลกุลไมโอโกลบินในเนื้อจะเสียสภาพกลายเป็นโมเลกุล
             ปนเปื้อนของไนไตรท์จากเครื่องจักร อุปกรณ์ และภาชนะที่ใช้ร่วมกันกับ  ที่ไม่ละลายน�้า ไอออนของเหล็กถูกออกซิไดซ์และหลุดออกมาจากโครงสร้าง
             ผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้ไนไตรท์ มีรายงานว่าการปนเปื้อนของไนไตรท์ในน�้าที่ใช้  ของไมโอโกลบินท�าให้เนื้อเปลี่ยนเป็นสีน�้าตาล ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่
             ในการมาริเนทเนื้อไก่แค่เพียง 1 ppm ก็สามารถท�าให้ผู้ทดสอบเห็นสีชมพูที่  ไม่สามารถย้อนกลับได้ หลายงานวิจัยชี้ให้เห็นว่าการเติมเกลือในสูตรการผลิต
             เนื้อไก่ปรุงสุกได้ ซึ่งแตกต่างจากเนื้อหมูและเนื้อวัว ซึ่งผู้ทดสอบสามารถสังเกต  เพิ่มโอกาสการเกิดสีชมพูไม่พึงประสงค์ในผลิตภัณฑ์เนื้อไก่ปรุงสุก เนื่องจาก
             เห็นสีชมพูได้เมื่อมีการปนเปื้อนไนไตรท์ที่ 4 และ 14 ppm ตามล�าดับ   เกลือส่งผลให้โมเลกุลไมโอโกลบินในเนื้อสัตว์เสียสภาพในระหว่างปรุงสุก
               ในกรณีของการปนเปื้อนไนเตรทนั้น ไนเตรทจะถูกรีดิวซ์เป็นไนไตรท์โดย  ในปริมาณที่น้อยลง หรืออีกนัยหนึ่งต้องใช้อุณหภูมิที่สูงขึ้นในการท�าให้โมเลกุล
             อาศัยแบคทีเรียที่สามารถผลิตเอนไซม์ไนเตรทรีดักเทส (Nitrate reductase)   ไมโอโกลบินเสียสภาพได้

             24 FOOD FOCUS THAILAND  MAR  2019


         24-26_Special Focus_Kanithporn.indd   24                                                                    20/2/2562 BE   19:40
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31