Page 27 - FoodFocusThailand No.156 March 2019
P. 27

SPECIAL FOCUS
                                                                                                         SPECIAL FOCUS





















                     3. เนื้อมีพีเอชสูงหรือใช้ส่วนประกอบที่มีพีเอชสูงในสูตร
                  การผลิต เนื้อไก่ที่มีพีเอชมากกว่า 6 มีโอกาสการเกิดสีชมพู
                  ไม่พึงประสงค์เพิ่มขึ้น โดยเนื้อที่มีพีเอชมากกว่าไอออนของ
                  เหล็กในโมเลกุลไมโอโกลบินจะอยู่ในรูปเฟอรัส (Fe ) มากกว่า
                                                   3+
                  รูปเฟอริก (Fe ) ซึ่งไอออนของเหล็กในรูปเฟอรัสมีความ-
                            2+
                  เสถียรต่อความร้อนมากกว่า จึงส่งผลให้โมเลกุลไมโอโกลบิน
                  ในเนื้อสัตว์เสียสภาพในระหว่างปรุงสุกในปริมาณที่น้อยลง
                  เช่นเดียวกับกรณีของเกลือ การที่เนื้อมีพีเอชสูงอาจเกิด
                  มาจากสาเหตุ  เช่น สัตว์เกิดความเครียดในระหว่างการเลี้ยงดู
                  หรือการใช้กระแสไฟฟ้าที่สูงเกินไปในขั้นตอนการท�าสลบ
                  นอกจากนี้ การใช้ส่วนประกอบที่มีพีเอชสูง เช่น เกลือฟอสเฟต
                  เพื่อช่วยเพิ่มความสามารถการอุ้มน�้าของเนื้อ สามารถส่งผลให้เนื้อมีพีเอช
                  สูงขึ้นด้วย                                                ปัญหาการเกิดสีชมพูไม่พึงประสงค์ในผลิตภัณฑ์เนื้อปรุงสุกนั้น
                     นอกจากสาเหตุที่ได้กล่าวข้างต้น ยังมีสาเหตุอื่นๆ ที่ส่งผลให้เกิดการเกิด  เป็นปัญหาที่มีความซับซ้อนสืบเนื่องมาจากปัจจัยร่วมหลายอย่าง จึงเป็น
                  สีชมพูไม่พึงประสงค์ได้ ได้แก่ การให้อาหารเสริมวิตามินบี 3 หรือ Nicotinamide   การยากที่จะก�าหนดเกณฑ์มาตรฐานในการควบคุมหรือป้องกันได้ ดังนั้น
                  ในอาหารสัตว์ วิธีการลดอุณหภูมิของซาก การปนเปื้อนของก๊าซต่างๆ เช่น ก๊าซ  เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาได้ส�าเร็จ จะต้องมีการศึกษารวบรวมข้อมูลของ
                  ไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ในระหว่างการแปรรูป        ปัจจัยในด้านต่างๆ หรืออาจมีความจ�าเป็นต้องน�าตัวอย่างน�้าที่ใช้ในการผลิต
                  เป็นต้น                                                 รวมถึงตัวอย่างเนื้อไก่ที่เกิดปัญหามาตรวจสอบเบื้องต้น เพื่อให้สามารถ
                                                                          วิเคราะห์ปัญหาได้อย่างถูกต้องและหาแนวทางการแก้ไขปัญหาได้อย่าง
                                                                          ถูกวิธีและเหมาะสมส�าหรับกระบวนการผลิตต่อไป ข้อแนะน�าเบื้องต้นที่
                                                                          ควรท�าหากพบปัญหานี้ คือ
                                                                             1. ตรวจสอบการปนเปื้อนของไนไตรท์และไนเตรทในเนื้อไก่ น�้าที่สัมผัส
                                                                          กับไก่ และส่วนประกอบอาหารอื่นๆ ที่ใช้ในการผลิต
                                                                             2. ตรวจสอบอุณหภูมิการปรุงสุก
                                                                             3. ตรวจสอบพีเอชของเนื้อไก่ น�้า และส่วนประกอบในการผลิต
                                                                             4. ตรวจสอบการปนเปื้อนข้ามระหว่างการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ใช้ไนไตรท์/
                                                                          ไนเตรท และผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้ใช้
                                                                             5. หลีกเลี่ยงการมาริเนทเนื้อทิ้งไว้นานๆ
                                                                             6. ตรวจสอบก๊าซจากแหล่งความร้อนต่างๆ ในโรงงานอย่างสม�่าเสมอ
                  รูปที่ 1 ตัวอย่างการเกิดสีชมพูไม่พึงประสงค์ในผลิตภัณฑ์เนื้อไก่ปรุงสุก
                  Fig 1 Example of pink color defect in cooked chicken products



                  เอกสารอ้างอิง/Reference
                  Friesen K and Marcy JA. 2002. Pinking in poultry symposium. In 53  Annual Reciprocal Meat Conference, 110-112 pp.
                                                           rd
                  Holownia K, Chinnan MS and Reynolds AE. 2003. Pink color defect in poultry white meat as affected by endogenous conditions. Journal of Food Science (68): 742-747.
                  Suman, S.P., M.N. Nair, P. Joseph and M.C. Hunt. 2016. Factors influencing internal color of cooked meats. Meat Science 120133-144.
                                                                                                  MAR  2019 FOOD FOCUS THAILAND  25


         24-26_Special Focus_Kanithporn.indd   25                                                                    20/2/2562 BE   19:40
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32