Page 57 - 151
P. 57

STRENGTHEN THE PACKAGING


           สามารถดึงเปิดลอกออกส�าหรับการบริโภค และการ-  สีจากธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงของสมุนไพรไทย และการเปลี่ยนแปลงกลิ่นรสในอาหาร เป็นต้น
           ออกแบบโครงสร้างและวัสดุฝาโลหะที่สามารถเจาะเปิด
           ได้ง่ายโดยไม่ต้องใช้ที่เปิดกระป๋อง เป็นต้น  บรรจุภัณฑ์ส�าหรับการค้าและการจัดจ�าหน่ายแบบ  E-commerce  การพัฒนา
                                                   3สื่ออิเล็กทรอนิกส์ท�าให้ผู้บริโภคเป็นจ�านวนมากให้ความส�าคัญกับการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์
              การบรรจุที่ช่วยยืดอายุสินค้าอาหาร    โดยสามารถสั่งซื้อสินค้าได้อย่างสะดวกรวดเร็วทุกที่ทุกเวลา ท�าให้มีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ส�าหรับระบบ
           2เทคโนโลยีการยืดอายุอาหารเป็นปัจจัยหนึ่งที่ผู้ผลิต  E-commerce เพื่อรักษาคุณภาพสินค้าอาหาร ได้แก่ การออกแบบโครงสร้างภาชนะบรรจุที่ช่วยป้องกัน
           อาหารและผู้บริโภคให้ความสนใจ เพราะช่วยสนับสนุน  ความเสียหายเนื่องจากการขนส่งจากการสั่นสะเทือน แรงกด และแรงกระแทก เป็นต้น การออกแบบ
           การขนส่งและกระจายสินค้า ขยายขอบเขตและโอกาส  โครงสร้างวัสดุที่เป็นฉนวนความร้อนป้องกันการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิภายในภาชนะ รวมถึงการใช้วัสดุ
           ทางการตลาด และช่วยลดปริมาณอาหารที่เป็นของเสีย   เปลี่ยนเฟส (Phase change material) ที่ช่วยรักษาอุณหภูมิของผลิตภัณฑ์ที่ขนส่งแบบ E-commerce
           (Food waste)                            การผลิตบรรจุภัณฑ์ดังกล่าวต้องอาศัยหลักความรู้ด้านวิศวกรรม และเคมีเพื่อศึกษาการแลกเปลี่ยน

             เทคโนโลยีการบรรจุเพื่อยืดอายุอาหาร ได้แก่   ความร้อนระหว่างสารกับสภาพแวดล้อม
             1) การบรรจุในสภาพบรรยากาศดัดแปร (Modified
           Atmosphere Packaging; MAP) โดยการเติมแก๊ส
           ออกซิเจน ไนโตรเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ใน
           สัดส่วนที่เหมาะสมต่ออาหารแต่ละชนิด เช่น การใช้
           คาร์บอนไดออกไซด์เพื่อยับยั้งการเจริญเติบโตของ
           จุลินทรีย์ การแทนที่แก๊สออกซิเจนด้วยไนโตรเจน
           เพื่อชะลอการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน และชะลอการ-
           เจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่ต้องการออกซิเจนในอาหาร
           บางชนิดท�าให้สามารถเก็บรักษาอาหารได้นานขึ้น
             2) การใช้บรรจุภัณฑ์แอคทีฟ ที่สามารถท�าอันตร-
           กิริยากับอาหารในระหว่างการเก็บรักษาเพื่อยืดอายุ เช่น
           การใช้วัตถุดูดซับความชื้น และวัตถุดูดซับแก๊สออกซิเจน
           เพื่อก�าจัดความชื้นและออกซิเจนที่ซึมผ่านเข้าสู่ภาชนะ
           บรรจุ หรือหลงเหลืออยู่ในโครงสร้างอาหาร และช่องว่าง
           เหนืออาหาร (Headspace) ภายในภาชนะบรรจุ รวมถึง
           ความชื้นที่อาจเกิดจากปฏิกิริยาเคมีในอาหาร เช่น
           การเกิดสีน�้าตาลที่ไม่เกี่ยวข้องกับเอนไซม์หรือปฏิกิริยา
           เมลลาร์ด (Maillard reaction) และการตกผลึกของ
           น�้าตาล เป็นต้น หรือการใช้วัตถุดูดซับเอทิลีนที่ช่วยชะลอ
           การเสื่อมเสียของผักและผลไม้สด เพื่อให้สามารถเก็บ
           รักษาและจัดจ�าหน่ายได้ยาวนานยิ่งขึ้น การใช้วัตถุดูดซับ
           ดังกล่าวนิยมใช้ในรูปซอง (Sachet) บรรจุในภาชนะ
           อย่างไรก็ดีผู้บริโภคบางส่วนอาจไม่ประสงค์ให้มีสิ่งอื่นปน
           อยู่กับอาหาร ผู้ผลิตวัสดุบรรจุและนักวิจัยทางบรรจุภัณฑ์
           จึงมีการพัฒนาเทคโนโลยีดังกล่าว โดยรวมวัตถุดูดซับ
           เป็นส่วนประกอบของวัสดุบรรจุ โดยใช้เทคโนโลยีลามิเนต
           การเคลือบผิว หรือเติมในชั้นกาว (Adhesive) หรือแผ่น
           รองใต้ฝาขวด เป็นต้น
             3) วัสดุบรรจุ High barrier เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
           ต้านทานการซึมผ่านของแก๊ส ไอน�้า และสารระเหยอื่นๆ
           ซึ่งเป็นปัจจัยภายนอกที่เร่งการเสื่อมเสียของอาหาร โดย
           การพัฒนาวัสดุในลักษณะดังกล่าวมีการใช้เทคโนโลยี
           ลามิเนต และการเคลือบผิวด้วยวัสดุที่ป้องกันการซึมผ่าน
           ได้ดี เช่น เอทิลีนไวนิลแอลกอฮอล์ พอลีเอทิลีนเทเรป-
           ทาเลตที่มีการดัดแปร การเคลือบด้วยวัสดุออกไซด์ของ
           ไทเทเนียม เพื่อป้องกันการส่องผ่านของแสง เพื่อช่วยลด
           การเสื่อมเสียของอาหารที่เกิดจากแสง การสลายตัวของ

                                                                                             OCT  2018 FOOD FOCUS THAILAND  55
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62