Page 61 - 151
P. 61
SOURCE OF ENGINEER
ตัวอย่างการแก้ปัญหาเบื้องต้นในกระบวนการผลิต Need to Know
ที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม
1. กำรจัดกำรปัญหำน�้ำเสีย การวิเคราะห์ปัญหา ขั้นตอนการผลิต
ที่มีผลต่อความสกปรกในน�้าเสียรวมของ
โรงงานนั้น เกิดจากขั้นตอนการล้างท�าความสะอาดวัตถุดิบ
อุปกรณ์ และพื้นบริเวณที่ท�าการผลิต โดยพบว่าน�้าเสียที่เกิดขึ้นมีการ-
ปนเปื้อนของเศษวัตถุดิบที่เป็นสารอินทรีย์จ�าพวกโปรตีนและไขมัน
ในปริมาณสูง โดยถึงแม้ในบางขั้นตอนอาจมีน�้าเสียเกิดขึ้นในปริมาณ
ที่ไม่มากนัก แต่หากโรงงานระบายน�้าเสียส่วนนี้ลงสู่ระบบบ�าบัดน�้าเสีย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากไม่มีการแยกกากของเสียออกด้วยแล้ว ก็จะท�าให้
ความเข้มข้นของมลสารในน�้าเสียรวมเพิ่มสูงขึ้นได้ ซึ่งเท่ากับเป็นการเพิ่ม
ภาระและค่าใช้จ่ายในการบ�าบัดของเสีย
แนวทางการแก้ปัญหา เน้นการบริหารจัดการโดยใช้แนวทางปฏิบัติ เศษซากเหลือจากการแปรรูปสัตว์น�้า
ที่ดี เพื่อลดการรั่วไหล หรือการใช้สิ้นเปลือง สามารถลดการใช้น�้าได้ร้อยละ 5
โดยไม่ต้องเสียเงินลงทุน ศึกษาศักยภาพการน�าน�้าจากกระบวนการผลิต (ปริมาณร้อยละของน�้าหนักวัตถุดิบ)
กลับมาใช้ใหม่ เช่น น�้าคอนเดนเสท น�้าโบล์วดาวน์ เพื่อลดการเกิดน�้าเสีย • สัตว์จ�าพวกหอย 80–85%
และลดค่าใช้จ่ายในการปรับสภาพปรับปรุงบ่อบ�าบัดน�้าเสีย ยกเลิกการ-
ระบายน�้าฝน/น�้าเสียที่ไม่เกิดจากกระบวนการผลิตลงบ่อบ�าบัดน�้าเสีย เช่น • สัตว์จ�าพวกปลา (เช่น ทูน่าและแซลมอน)
น�้าเสียจากครัว บ้านพักพนักงาน ส�านักงาน ปรับผังการไหลให้เป็นแบบ
Gravity flow น�าน�้าจากบ่อสุดท้ายป้อนกลับไปปรับสภาพน�้าเสียในบ่อแรก < 40%
สร้าง Wetland เป็นต้น
2. กำรลดของเสียจำก สภาพปัญหา วัตถุดิบที่ผ่านการ- ผลิตจึงมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาบุคลากรเป็นส่วนใหญ่ หากเป็นกรณีที่ใช้
กำรตัดแต่งวัตถุดิบ
คัดเลือกคุณภาพแล้ว จะถูกน�ามา เครื่องจักรในการตัดแต่งก็ควรเน้นไปที่การดูแลสภาพการใช้งานของ
ตัดแต่งให้ได้ลักษณะตามที่ต้องการ เครื่องจักรอย่างสม�่าเสมอ โดยมีแนวทางในการปรับปรุง ดังนี้
รวมทั้งก�าจัดส่วนที่ไม่ต้องการออก หากปฏิบัติงานไม่มี 1. ฝึกอบรมพนักงานให้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง
คุณภาพจะท�าให้ของเสียเกิดขึ้นปริมาณมาก และฝึกฝนให้เกิดความช�านาญในการปฏิบัติงาน
แนวทางการแก้ปัญหา 2. ตรวจสอบสภาพการใช้งานของเครื่องจักรอย่างสม�่าเสมอ และแก้ไข
เนื่องจากการตัดแต่งวัตถุดิบ ทันทีเมื่อพบความผิดปกติเกิดขึ้นกับเครื่องจักร
ต้องอาศัยแรงงานคน 3. น�ากากของเสียไปใช้ประโยชน์ เช่น การท�าปุ๋ย อาหารสัตว์ เป็นต้น
ในการปฏิบัติงานเป็น ซึ่งนอกจากโรงงานจะสามารถลดต้นทุนในการผลิตลงได้จากการขาย
ส่วนใหญ่ ดังนั้น ของเสียแล้ว ยังสามารถลดค่าใช้จ่ายจากการเช่าพื้นที่ทิ้งของเสียด้วย
ในการปรับปรุง 4. ใช้ภาชนะที่ไม่เป็นช่องเพื่อรองรับน�้าเสียและของเสียที่เกิดขึ้น
ขั้นตอนการ- เพื่อน�าไปใช้ประโยชน์หรือบ�าบัดต่อไป
เอกสารอ้างอิง/Reference
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. แนวปฏิบัติที่ดีด้าน
การป้องกันและลดมลพิษ อุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่เยือกแข็ง: ประเภทปลา
Pollution Control Department, Ministry of Natural Resources and Environment.
Best Practices to Prevent and Reduce Pollution from Frozen Seafood Industry: Fish.
OCT 2018 59 59
OCT 2018 FOOD FOCUS THAILANDFOOD FOCUS THAILAND