Page 69 - FoodFocusThailand No.158 May 2019
P. 69
Convenience Foods Supplement Edition
เครื่องปรุงรส อาหารแช่เย็นและแช่เยือกแข็ง อีกทั้งยังพบว่าหลายประเทศ of the amount of salt and sodium used in convenience foods and instant/
ได้มีมาตรการแบบบังคับ และ/หรือ สมัครใจในการลดปริมาณเกลือ semi-processed foods.
As there are numbers of convenience food manufacturers in
หรือโซเดียมในอาหารส�าเร็จรูป (กลุ่มอาหารพร้อมรับประทาน) และกลุ่ม Thailand, they can play prominent role in reducing salt and sodium levels
อาหารกึ่งส�าเร็จรูป in food products. From the review of nutrition facts on food packaging
ในประเทศไทยมีผู้ประกอบการที่ผลิตอาหารส�าเร็จรูปเป็นจ�านวนมาก that available in shopping malls and convenient stores in Greater
Bangkok conducted by the Thai FDA and Low Salt Thailand Network in
และมีส่วนส�าคัญในการช่วยปรับลดปริมาณเกลือหรือโซเดียมในผลิตภัณฑ์- 2012, it was found that the main source of sodium consumed by Thais
อาหาร จากผลการส�ารวจสถานการณ์การแสดงข้อมูลบนฉลากโภชนาการ is ready-to-eat foods. Instant noodle contains an average index of 1,272
ของผลิตภัณฑ์อาหารที่มีจ�าหน่ายในห้างสรรพสินค้าและร้านสะดวกซื้อ mg per serving, while instant congee/porridge has around 1,269 mg per
serving. (Nutritionists suggest that main meal and supper meal should
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในช่วงปี 2555 ของส�านักอาหาร อย. contain no more than 600 mg and 100 mg of sodium content per serving,
ร่วมกับเครือข่ายลดบริโภคเค็ม พบว่าแหล่งของโซเดียมที่ประชากรไทยได้รับ respectively.) Some convenience foods are used as raw material for
จากผลิตภัณฑ์อาหารส�าเร็จรูปที่พร้อมบริโภคมากที่สุด คือ กลุ่มผลิตภัณฑ์- cooking, which further signify the important role of food producers in
reducing salt and sodium consumption among Thais. They need to
อาหารกึ่งส�าเร็จรูป (บะหมี่/ก๋วยเตี๋ยวส�าเร็จรูป) มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 1,272 มิลลิกรัม collaborate to reduce the consumption following WHO’s determination,
ต่อหนึ่งหน่วยบริโภค และกลุ่มผลิตภัณฑ์โจ๊ก/ข้าวต้มส�าเร็จรูป มีค่าเฉลี่ย in which salt reduction by 30% is 1 of the 9 global goals to control NCDs
อยู่ที่ 1,269 มิลลิกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริโภค (นักโภชนาการแนะน�าว่าอาหาร by 2025.
มื้อหลักควรมีปริมาณโซเดียมไม่เกิน 600 มิลลิกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริโภค และ Public-Private Join Force to Find Less Salt Measures
อาหารว่างควรมีปริมาณโซเดียมไม่เกิน 100 มิลลิกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริโภค) Public and private sectors push for voluntary targets to reduce sodium
in instant/semi-processed foods, chilled/frozen foods, seasonings, and
อีกทั้งอาหารส�าเร็จรูปบางอย่างนิยมน�ามาใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบ snacks in Thailand. In order to achieve the goal, a median and voluntary
อาหารด้วย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความส�าคัญของผู้ผลิตอาหารซึ่งมีผลต่อ target must be created and agreed upon by every party involving in the
การบริโภคเกลือหรือโซเดียมในอาหารของประชากรไทยเป็นอย่างมากที่จะ project. The criteria to reduce sodium is based on the average sodium
content in particular food types, for which manufacturers should reduce
ต้องร่วมมือกันเพื่อลดการบริโภคเกลือและโซเดียมตามที่องค์การอนามัยโลก by 10% every 2 years and received annual follow ups.
ก�าหนดให้การลดบริโภคเกลือเป็น 1 ใน 9 เป้าหมายโลกในการควบคุมปัญหา Thai FDA’s deputy secretary-general, Dr.Poonlarp Chantavichitwong
โรคไม่ติดต่อภายในปี 2568 โดยก�าหนดให้ลดการบริโภคเกลือและโซเดียม revealed that Thai FDA, joined with Low Salt Thailand Network, WHO,
and the private sector including processed/convenience foods
ของประชาชนทั่วไปให้ได้ร้อยละ 30 ภายในปี 2568 manufacturers, met to discuss about the voluntary goal to reduce sodium
MAY 2019 NO. 53 69
68-72_Artice 3_Sodium RTE.indd 69 22/4/2562 BE 16:34