Page 70 - FoodFocusThailand No.158 May 2019
P. 70
Convenience Foods Supplement Edition
รวมพลังรัฐ-เอกชน ถกหามาตรการลดเค็ม ลดโรค content in
ภาครัฐและเอกชนร่วมกันผลักดันจัดท�าเป้าหมายเชิงสมัครใจในการลดปริมาณ foods, and find
the conclusion about the
โซเดียมในอาหารส�าเร็จรูปของไทยใน 4 ผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ อาหารกึ่งส�าเร็จรูป role of food manufacturers.
อาหารแช่เย็น/แช่เยือกแข็ง ผลิตภัณฑ์เครื่องปรุงรส และขนมขบเคี้ยว มีแนวทาง The team also works together
การด�าเนินงานโดยจัดท�าค่ากลางและค่าเป้าหมายเชิงสมัครใจในการปรับลดปริมาณ to find the solution or measures
to reduce sodium and encourage the
โซเดียมในผลิตภัณฑ์อาหาร 4 กลุ่ม ผ่านการเห็นชอบจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดย enforcement of laws or regulations on
แบ่งเป็นเกณฑ์ในการลดปริมาณโซเดียมอ้างอิงจากค่าเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม private food enterprises.
Dr.Surasak Kantachuvesiri, Chairman of the Low Salt
ในกลุ่มผลิตภัณฑ์นั้นๆ โดยจะปรับลดร้อยละ 10 ในทุกๆ 2 ปี และมีการติดตามผล Thailand Network stated that the National Committee on the
ปริมาณโซเดียมในผลิตภัณฑ์ทุกปี reduction of Salt and Sodium Consumption to curb NCDs held
นพ.พูลลาภ ฉันทวิจิตรวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา a meeting to call 83 hospitals nationwide to reduce salt content
เปิดเผยว่า อย. ได้ร่วมกับเครือข่ายลดบริโภคเค็ม องค์การอนามัยโลก และภาคเอกชน under the project “Lod Khem Noi Aroi (3) Dee”. The group aims
to reduce sodium content from 2,400 mg per day to 2,000 mg
ซึ่งประกอบด้วย ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป ประชุมหารือเพื่อจัดท�า per day, and all the food in central hospitals and general hospitals
เป้าหมายเชิงสมัครใจในการลดปริมาณโซเดียมในอาหาร และร่วมกันหาแนวทางหรือ overseen by the MOPH - including food for the in-patient and
มาตรการในการลดโซเดียมหรือช่วยกันผลักดันให้เกิดกฎหมายหรือข้อบังคับ food available in canteen - must be low sodium.
Dr.Pairoj Saonuam, Director of the Promotion of Health
กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารภาคเอกชน Lifestyle Section, Thai Health Promotion Foundation, reiterated
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ ประธานเครือข่ายลดบริโภคเค็ม that ThaiHealth is working with every stakeholder to improve the
กล่าวว่า คณะกรรมการนโยบายลดบริโภคเกลือและโซเดียม เพื่อลดโรคไม่ติดต่อ health among Thais, but many are still consuming sodium 2
times higher than the amount advised by the WHO - 4,350 mg
ระดับชาติ ได้ประชุมเพื่อขับเคลื่อนโรงพยาบาลลดเค็มน้อยอร่อย (3) ดี ทั่วประเทศ per day. This is the prominent cause for NCDs, especially
83 แห่ง พร้อมที่จะเดินหน้าเพื่อปรับลดปริมาณลดค่าปริมาณโซเดียมลง จากเดิม hypertension, kidney diseases, cardiovascular disease, and
cerebrovascular disorders. Not only that, people get used to
2,400 มิลลิกรัมต่อวัน เป็น 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน นอกจากนี้ การให้บริการอาหาร consuming high sodium food, which eventually leads to gradual
ในโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปของกระทรวงสาธารณสุข ทั้งอาหาร increase of salt content. The familiarity makes it difficult to reduce
ส�าหรับผู้ป่วยที่มารักษาในโรงพยาบาล อาหารจากร้านค้าสวัสดิการของโรงพยาบาล salt. One popular method used by manufacturers is to use salt
substitution such as potassium chloride salt, but the substance
หรืออาหารส�าหรับญาติและผู้ที่มารับการบริการภายในโรงพยาบาลจะต้องเป็นอาหาร sometimes creates unpalatable in food and is restricted from
ที่มีปริมาณโซเดียมต�่าด้วย using in patients who need to limit potassium consumption.
ดร. นพ.ไพโรจน์ เสาน่วม ผู้อ�านวยการส�านักส่งเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ ส�านักงาน Therefore, finding the solution to reduce sodium content, while
maintaining the deliciousness of the food and acceptance from
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กล่าวว่า สสส. ร่วมมือกับทุกภาคส่วนเพื่อให้ consumers becomes another important goal.
คนไทยมีสุขภาพดีอย่างต่อเนื่อง ขณะนี้คนไทยบริโภคโซเดียมสูงเกินกว่าค่าก�าหนด Associate Professor Dr.Kriangsak Wareesaengthip,
ขององค์การอนามัยโลกถึง 2 เท่า หรือประมาณ 4,350 มิลลิกรัมต่อวัน ซึ่งเป็นสาเหตุ President of the Nephrology Society of Thailand, said that kidney
disease is a global issue. In Thailand, the national policy to
ส�าคัญของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง โรคไต reduce salt and sodium has been pushed since 2017 and we’ve
โรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง การบริโภคอาหารโซเดียมสูงยังเป็นปัจจัย seen many countries developed the procedure to collect salt tax
as they fail to reduce sodium content in food or lack the
ที่น�าไปสู่ความเคยชินต่อรสเค็ม หรือพฤติกรรมติดเค็ม ท�าให้บริโภคอาหารโซเดียมสูง participation from food manufacturers such as shops, companies,
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งเป็นอุปสรรคส�าคัญต่อการปรับลดปริมาณโซเดียม แนวทางการปรับลด and fast food services. Thailand relies on the voluntary
ปริมาณโซเดียมในผลิตภัณฑ์อาหารที่นิยมในปัจจุบัน คือ การใช้สารทดแทนเกลือ negotiation between the public and the private sectors, which
received good response as manufacturers constantly produce
เช่น เกลือโพแทสเซียมคลอไรด์ ซึ่งยังมีข้อจ�ากัดบางประการ เช่น ท�าให้เกิดรสเฝื่อน low-sodium food and food with less sodium content. However,
ในอาหาร หรือการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องจ�ากัดปริมาณโพแทสเซียม ดังนั้น การหาแนวทาง the main problem remains the consumers behaviours. Here, an
ปรับลดโซเดียมในอาหารโดยไม่ส่งผลกระทบต่อรสชาติและการยอมรับของผู้บริโภค awareness must be created to embolden changes in how Thais
consume food, because eating spicy food will make it hard to
จึงถือเป็นเป้าหมายส�าคัญอีกทางหนึ่ง switch to average-taste food.
รองศาสตราจารย์ นพ.เกรียงศักดิ์ วารีแสงทิพย์ นายกสมาคมโรคไตแห่ง WHO Representative to Thailand, Dr.Daniel Kertesz, said
ประเทศไทย กล่าวว่า สถานการณ์โรคไตในปัจจุบันก�าลังเป็นปัญหาใหญ่ระดับโลก that the reduction of salt consumption among population is
important, and is an efficient way to leverage the health of the
ปัจจุบันรัฐบาลไทยได้ย�้าให้ทุกภาคส่วนร่วมมือกัน และประกาศให้มีการขับเคลื่อน global population. Therefore, WHO encourages people to
นโยบายลดเกลือและโซเดียมแห่งชาติตั้งแต่ปี 2560 มีหลายประเทศทั่วโลกที่ออก consume only 5 g of salt per day, or 1 teaspoon per day, following
measures conducted on evidence-based practice. Thai people
มาตรการเก็บภาษีเกลือออกมาแล้ว เนื่องจากไม่สามารถปรับลดปริมาณโซเดียมใน consume salt and sodium nearly twice as much of the figure
อาหารลงได้ หรือไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ผลิต ได้แก่ บริษัท ร้านค้า กลุ่ม advised by the WHO, and more Thais are continuously suffering
ฟาสต์ฟู้ดส์ต่างๆ ส�าหรับในประเทศไทยยังอาศัยการเจรจาพูดคุยระหว่างภาครัฐกับ from hypertension. Hypertension is a risk factor for heart and
cardiovascular diseases, which are the cause of death of nearly
เอกชนตามความสมัครใจ ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี มีการผลิตผลิตภัณฑ์ 30% in Thailand. Reformulation of convenience foods to reduce
ลดโซเดียมหรืออาหารลดโซเดียมออกมาอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ปัญหาส�าคัญ salt content is important to reduce salt consumption among Thai
อยู่ที่พฤติกรรมของผู้บริโภคที่จะต้องสร้างการรับรู้อย่างสม�่าเสมอให้มีการเปลี่ยนแปลง people. The less salt measure will be an effective strategy, which
works in many countries, to protect the health of the global
population.
70 MAY 2019 NO. 53
68-72_Artice 3_Sodium RTE.indd 70 22/4/2562 BE 16:34