Page 30 - FoodFocusThailand No.165 December 2019
P. 30

SMART PRODUCTION



                                                                       • การให้ความร้อนด้วยคลื่นไมโครเวฟ กำรให้ควำมร้อนด้วยคลื่น
                                                                    ไมโครเวฟเป็นกระบวนกำรให้ควำมร้อนกับอำหำรโดยกำรให้คลื่นสนำม-
                                                                    แม่เหล็กไฟฟ้ำควำมถี่สูง ควำมร้อนที่เกิดขึ้นมำจำกกลไกกำรหมุนของขั้ว
                  ปัจจุบันกระบวนการให้ความร้อนแบบโอห์มมิค           (Dipole rotation) และกำรเคลื่อนที่ของอิออน (Ionic polarization) นอกจำก

                      ได้รับความนิยมน�ามาใช้อย่างแพร่หลาย           กำรใช้เตำไมโครเวฟทั่วไปในครัวเรือนแล้ว กำรใช้งำนคลื่นไมโครเวฟใน
                       โดยเหมาะกับการถนอมอาหารเหลว                  ระดับอุตสำหกรรมยังมีมำกมำยอีกด้วย โดยเป็นกำรใช้คลื่นไมโครเวฟควบคู่
                                                                    กับกระบวนกำรอื่นๆ เพื่อลดเวลำและเพิ่มก�ำลังกำรผลิต เช่น กำรท�ำแห้ง
                      และอาหารเหลวผสมชิ้นอาหารที่ปั๊มได้            กำร precook เนื้อสัตว์ กำรอบ กำรพำสเจอร์ไรซ์ อำหำรพร้อมรับประทำน

                       เช่น ซุป น�้าผลไม้ นม โยเกิร์ต ซอส ไข่       กำรลวก กำรทอด กำรละลำย และกำรสกัด
                                                                       กำรพำสเจอร์ไรซ์อำหำรในภำชนะบรรจุด้วยคลื่นไมโครเวฟเป็น
                 ผักเครื่องเคียง และอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
                                                                    เทคโนโลยีที่น่ำจับตำมอง ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 มีบริษัทอย่ำงน้อย 5
                               พร้อมรับประทาน                       บริษัทในยุโรปได้พัฒนำระบบพำสเจอร์ไรซ์อำหำรในภำชนะบรรจุด้วยคลื่น
                                                                    ไมโครเวฟ เช่น Alfasta จำกประเทศสวีเดน Berstorff จำกประเทศเยอรมนี
                                                                    APV-Baker และ Microwave Systems จำกประเทศอังกฤษ โดยมี OMAC
                                                                    จำกประเทศอิตำลี เป็นผู้น�ำในกำรออกแบบระบบถังควำมดันทรงกระบอก
                                                                    ในแนวนอน ซึ่งอำหำรจะเคลื่อนไปตำม 5 ส่วนกำรท�ำงำน ได้แก่ 1) อัดควำมดัน
                                                                    2) ให้ควำมร้อนด้วยคลื่นไมโครเวฟควำมถี่ 2,450 MHz  3) พักให้อุณหภูมิ
                 ปัจจุบันกระบวนกำรให้ควำมร้อนแบบโอห์มมิคในกำรผลิตอำหำร
              ถูกใช้อย่ำงแพร่หลำยในอุตสำหกรรมอำหำรทั่วโลก เช่น สหรัฐอเมริกำ อิตำลี   อำหำรทุกจุดเท่ำกัน 4) ท�ำเย็น และ 5) ปล่อยควำมดัน
                                                                       ระบบนี้ได้ถูกพัฒนำต่อโดย TOPS Food จำกประเทศเบลเยียม และ
              อังกฤษ ญี่ปุ่น เม็กซิโก และฝรั่งเศส (Kamonpatana et al., 2013; Yildiz-
              Turp et al., 2013) โดยถูกน�ำไปใช้ผลิตอำหำรในระบบกำรให้ควำมร้อน  Otsuka Chemical Co. จำกประเทศญี่ปุ่น ในกำรผลิตอำหำรในภำชนะ
                                                                    บรรจุทั้งที่เก็บในอุณหภูมิห้องและแช่เย็น ตัวอย่ำงอำหำร TOPS Food เช่น
              แบบโอห์มมิคแบบกำรไหลต่อเนื่อง ดังนั้น OH จึงเหมำะกับกำรถนอม

              อำหำรเหลวและอำหำรเหลวผสมชิ้นอำหำรที่ปั๊มได้ เช่น ซุป น�้ำผลไม้ นม   สปำเก็ตตี้ ไก่สะเต๊ะ ซึ่งสำมำรถเก็บในอุณหภูมิต�่ำกว่ำ 7 �C นำน 35 วัน
                                                                    เมื่อเร็วๆ นี้ Micvac จำกประเทศสวีเดน ได้น�ำแนวคิดใหม่เกี่ยวกับภำชนะ
              โยเกิร์ต ซอส ไข่ ผักเครื่องเคียง (Vegetable side dishes) และอำหำรใน
              ภำชนะบรรจุที่ปิดสนิทพร้อมรับประทำน                    บรรจุที่มีวำล์วปิด-เปิด เข้ำมำใช้ในกำรพำสเจอร์ไรซ์อำหำรในภำชนะบรรจุ
                                                                    ด้วยคลื่นไมโครเวฟ กล่ำวคือ เมื่อให้ควำมร้อนกับอำหำร ไอน�้ำที่เกิดขึ้น
                 เนื่องจำกอำหำรบำงชนิด อย่ำงอำหำรเหลวที่มีชิ้นอำหำรขนำดใหญ่
              หรืออำหำรที่ปั๊มไม่ได้ เช่น ไส้กรอก หรือข้ำว ไม่สำมำรถใช้ระบบกำรให้  ภำยในภำชนะบรรจุจะดันวำล์วเปิดเพื่อไล่อำกำศ และช่วงกำรท�ำเย็น
                                                                    วำล์วปิด ไอน�้ำเกิดกำรควบแน่นและท�ำให้เกิดสภำวะสุญญำกำศ อำหำร
              ควำมร้อนแบบโอห์มมิคแบบกำรไหลต่อเนื่องได้ เมื่อเร็วๆ นี้ ได้มีกำรพัฒนำ
              ระบบฆ่ำเชื้อจุลินทรีย์ด้วยระบบกำรให้ควำมร้อนแบบโอห์มมิคซึ่งเป็น
              แนวควำมคิดใหม่โดยนักวิจัยจำกคณะอุตสำหกรรมเกษตร มหำวิทยำลัย
              เกษตรศำสตร์ โดยสำมำรถผลิตอำหำรที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์ให้ปลอดภัยทั้ง
              ในระดับพำสเจอร์ไรซ์และสเตอริไลซ์ด้วยเวลำที่สั้นกว่ำกำรฆ่ำเชื้อจุลินทรีย์
              ด้วยเครื่องฆ่ำเชื้อแบบดั้งเดิม ตัวอย่ำงเช่น กำรให้ควำมร้อนแบบโอห์มมิค
              แก่ผลิตภัณฑ์น�้ำซุปผสมชิ้นไก่และผักในภำชนะบรรจุปิดสนิทแบบอ่อนตัว
              จำกอุณหภูมิห้องจนถึงอุณหภูมิเป้ำหมำยที่ 121  �C ใช้เวลำน้อยกว่ำ 15
              นำที มีผลท�ำให้อำหำรมีคุณภำพดีกว่ำและท�ำลำยเชื้อจุลินทรีย์ได้มำกกว่ำ
                 นอกจำกนี้ กำรพำสเจอร์ไรซ์ไส้กรอกหลังบรรจุในบรรจุภัณฑ์พลำสติก
              (Post pasteurization) ด้วย OH ที่ 75  �C นำน 30 วินำที สำมำรถท�ำลำย
              Listeria monocytogenes ได้มำกกว่ำ 5 log ในขณะที่กำรให้ควำมร้อน
              ด้วยน�้ำร้อนที่สภำวะเดียวกันท�ำลำยได้เพียง 3 log และเมื่อท�ำกำรทดสอบ

              ทำงประสำทสัมผัส พบว่ำผู้บริโภคไม่สำมำรถแยกควำมแตกต่ำงระหว่ำง
              ไส้กรอกที่ผ่ำนและไม่ผ่ำนกำรพำสเจอร์ไรซ์หลังบรรจุได้ (Inmanee et al.,   รูปที่ 1   น�้ำซุปผสมชิ้นไก่และผักที่บรรจุในภำชนะปิดสนิทหลังผ่ำนระบบฆ่ำเชื้อ
              2019)                                                         จุลินทรีย์ ด้วยระบบกำรให้ควำมร้อนแบบโอห์มมิค
                                                                     Figure 1  Soup containing chicken chunks and vegetables in pouch that
                                                                             processed by ohmic heating technology.
             30 FOOD FOCUS THAILAND  DEC   2019

         28-33_Smart Production_OPitiya.indd   30                                                                   19/11/2562 BE   15:22
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35