Page 30 - FoodFocusThailand No.166 January 2020
P. 30
SPECIAL FOCUS
ต้องเน้นไปที่อาหารพร้อมรับประทาน ที่มีคุณค่าทาง
โภชนาการ เป็นอาหารสุขภาพหรือใช้นวัตกรรมที่โดดเด่น
กว่าอาหารพร้อมรับประทาน ในรูปแบบทั่วไป อาทิ
การพัฒนาอาหารพร้อมรับประทาน ที่ตอบโจทย์วิถีการ-
บริโภคของคนยุคใหม่ เช่น ดีต่อสุขภาพ (ลดหวาน-มัน-เค็ม)
ใช้วัตถุดิบพรีเมียมตามเทรนด์การบริโภคใหม่ๆ ออกแบบ
บรรจุภัณฑ์ที่ไซส์เล็กลง/เหมาะส�าหรับทานคนเดียว ใช้วัสดุ
ที่ไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อม ฯลฯ หรือน�าเสนอนวัตกรรมอาหาร
ที่เข้ามาอ�านวยความสะดวกให้กับผู้บริโภค เช่น อาหาร
พร้อมรับประทาน ที่ไม่ต้องอุ่นไมโครเวฟ อุ่นร้อนด้วยตัวเอง
หรือเก็บได้นานในอุณหภูมิปกติโดยไม่ต้องแช่เย็น-แช่แข็ง 4
เป็นต้น
อาหารพร้อมรับประทาน ประเภทแช่แข็งด้วย นั่นหมายความว่า ผู้ประกอบการจะเผชิญแรงกดดัน จากปัจจัยข้างต้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ในปี
จากต้นทุนที่อาจเพิ่มขึ้น ทั้งจากผลของภาษี การปรับสูตรการผลิต และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 2563 อาหารพร้อมรับประทาน เป็นหนึ่งในสินค้ากลุ่ม
สู่สินค้าพรีเมียมที่มีปริมาณโซเดียมต�่า อาหารและเครื่องดื่มที่จะยังมีแนวโน้มเติบโตดีกว่าภาพรวม
ดังนั้น ด้วยสภาพตลาดที่ท้าทายดังกล่าว ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่าผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ ตลาดอาหารและเครื่องดื่ม โดยคาดว่าจะมีอัตราการขยาย
อาหารพร้อมรับประทาน อาจจ�าเป็นต้องพิจารณากลยุทธ์การพัฒนาสินค้าที่ส�าคัญ ได้แก่ ตัวร้อยละ 3.0-5.0 (YoY) หรือมีมูลค่าตลาดราว 20,200-
1) การตั้งราคาที่ย่อมเยา ภายใต้การควบคุมคุณภาพอาหารที่เน้นถึงความสะอาดและ 20,500 ล้านบาท ซึ่งแม้ว่าในปัจจุบันจะยังมีส่วนแบ่งตลาด
ปลอดภัย ส�าหรับเจาะกลุ่มผู้บริโภคในวงกว้าง (Mass Market) ซึ่งเป็นฐานตลาดที่ใหญ่ น้อยกว่าร้อยละ 1 ของมูลค่าตลาดรวมในกลุ่มอาหารและ
เพื่อให้ผู้บริโภครู้สึกถึงความคุ้มค่าคุ้มราคาและตัดสินใจเลือกซื้อง่ายขึ้น แต่ก็ต้องยอมรับว่า เครื่องดื่ม แต่มีโอกาสสูงที่จะเพิ่มสัดส่วนได้มากขึ้นในระยะ
การแข่งขันในตลาดนี้อาจเผชิญกับคู่แข่งหลากหลายรูปแบบทั้งทางตรงและทางอ้อม อาทิ กลุ่ม ข้างหน้า
ร้านอาหารในห้าง ร้านอาหารข้างทาง ฟู้ดเดลิเวอรี่ รวมถึงอาหารกึ่งส�าเร็จรูป เป็นต้น ดังนั้น ในขณะที่มูลค่าตลาดรวมอาหารและเครื่องดื่มใน
การก�าหนดราคาในระดับที่ผู้บริโภคยอมรับได้ อาจขึ้นอยู่กับความสามารถในการบริหารจัดการ ประเทศ อาจมีแนวโน้มเติบโตชะลอลงเมื่อเทียบกับปี 2562
ในเรื่องของต้นทุนวัตถุดิบและการตลาดของผู้ประกอบการเป็นส�าคัญ จากก�าลังซื้อของผู้บริโภคที่คาดว่าจะได้รับแรงกดดันจาก
2) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปสู่อาหารพร้อมรับประทาน รูปแบบพรีเมียม...เพื่อเจาะตลาด ภาวะเศรษฐกิจไทยที่ชะลอตัว แต่ผลจากภาวะภัยแล้ง-
ผู้บริโภคเฉพาะกลุ่ม (Niche Market) ที่มีความเต็มใจจ่ายสูง แม้ว่าฐานลูกค้าจะน้อยกว่า น�้าน้อย มีแนวโน้มว่าอาจจะกระทบต่อปริมาณ และผลักดัน
แต่ก�าลังซื้ออาจไม่ได้รับผลกระทบมากจากภาวะเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม การเจาะตลาดกลุ่มนี้ ให้ราคาสินค้าอาหารสดซึ่งเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหาร
ก็คงต้องเจอกับการแข่งขันของผู้ผลิตอาหารพร้อมรับประทาน ด้วยกันเอง ผู้ประกอบการจึงจ�าเป็น ในปี 2563 สูงขึ้น ความเป็นไปได้ที่ภาครัฐจะพิจารณา
30 FOOD FOCUS THAILAND JAN 2020
28-31_Special Focus_Kbank.indd 30 20/12/2562 BE 17:50