Page 54 - FoodFocusThailand No.166 January 2020
P. 54

SOMETHING ABOUT FOOD

               สมมติว่าคุณผู้อ่านเป็นเจ้าของร้านอาหารแห่งหนึ่ง ขนาด 28 ที่นั่ง คิดว่า               หลักการปฏิบัติอย่างนี้ ถ้าเปรียบเทียบกับหลักการของ Lean แล้ว
             ต้องจ้างพนักงานประจ�าหน้าร้านเพื่อบริการลูกค้า จ�านวนกี่คนครับ?  ก็คือระบบดึง (Pull System) นั่นเอง ที่บริหาร Stock โดยการสื่อสารบอกไปยัง
               การไปเยือนญี่ปุ่นครั้งล่าสุด ผมได้ไปนั่งร้าน Sushi ท�าให้มีประเด็นน่าสนใจ        ขั้นตอนก่อนหน้าว่า ชิ้นส่วนได้ถูกหยิบใช้ไปแล้ว ให้ช่วยจัดส่งเข้ามาเติม
             ได้มาคุยกัน เพราะร้านนี้ตอบค�าถามข้างต้นด้วยการใช้พนักงานเพียงคนเดียว  หรือผลิตเพื่อมาทดแทนด้วย
             เท่านั้นเอง!                                              ข้อดีส�าหรับลูกค้าคือ ไม่ต้องรอคอยเลย สามารถหยิบอาหารที่อยู่ตรงหน้า
               ในยุคปัจจุบันที่มีการพูดถึงการน�าเทคโนโลยี Digital มาใช้กันมาก ผมจะลอง  มาทานได้ทันที แต่ปัญหาส�าคัญที่อาจเกิดขึ้นคือ ถ้า Sushi บนสายพาน
             ยกร้าน Sushi เป็นกรณีศึกษา ที่จะท�าให้เห็นการพัฒนาธุรกิจด้วยเทคโนโลยีครับ  ไม่มีลูกค้าหยิบ นานๆ เข้าความสดใหม่ก็จะหายไป กลายเป็นความสูญเสีย

             รูปแบบดั้งเดิม                                         (Food Waste)
             ร้านแบบนี้ยังคงเห็นอยู่ในปัจจุบัน คือเป็นร้านขนาดเล็ก ลูกค้านั่งอยู่หน้าเคาน์เตอร์ ผสมผสาน Automation และ เทคโนโลยี Digital
             เห็นหน้าพ่อครัว (ที่ญี่ปุ่นมีแต่ผู้ชายปั้น Sushi) อยากทานอะไรก็สั่ง พ่อครัวท�าตาม  การพัฒนาการอีกระดับ ด้วยกระบวนการทางธุรกิจใหม่แบบที่ผมเปิด
             ค�าสั่งเท่านั้น หลังท�าเสร็จก็ส่งมอบให้ลูกค้าโดยตรง    หัวเรื่องไว้ คือ ระบบรางส�าหรับถาดจัดส่งอัตโนมัติ ได้ถูกน�ามาใช้
               ถ้าเปรียบเทียบกับร้านอาหารทั่วไปที่ต้องมีพนักงานคนกลาง รับ Order                  การจัดที่นั่งลูกค้ายังคงจัดแบบเดียวกับร้านสายพาน ด้านหน้าของ
             จดบันทึกส่งเข้าไปในครัว เมื่ออาหารปรุงเสร็จก็ยกมาเสิร์ฟให้กับลูกค้า ดังนั้น         ทุกที่นั่งลูกค้าจะมี Tablet วางอยู่ ให้จิ้มเลือกรายการอาหารที่ต้องการด้วย
             ร้านในแบบที่ลูกค้ามีปฏิสัมพันธ์กับพ่อครัวโดยตรง หน้าที่พนักงานคนกลางก็ไม่มี  ตนเอง เมื่อลูกค้าสั่งแล้ว ข้อมูลนี้จะถูกส่งไปที่พ่อครัวแบบ Real Time เพื่อท�า
             ความจ�าเป็น                                            Sushi ตามค�าสั่งเฉพาะของลูกค้าแต่ละราย แบบเดียวกับร้านดั้งเดิม
             ขับเคลื่อนด้วยสายพาน                                      Menu รูปเล่มที่คุ้นเคย ก็กลายเป็น Digital Menu ท�าให้การปรับเปลี่ยน
             เมื่อขยายร้านใหญ่โตขึ้น ขนาดพื้นที่เกินกว่าพ่อครัวจะดูแลได้โดยตรง ร้านต้องจ้าง  รายการ ราคา จัด Promotion เพิ่มความหลากหลายภาษา ท�าได้ง่ายขึ้นมาก
             พนักงานมาท�าหน้าที่ดูแลลูกค้าแทน วิวัฒนาการบริหารร้านที่มีคือ การน�าระบบ  ด้วยเวลาที่รวดเร็วขึ้น
             สายพานเข้ามาใช้ เราได้เห็นรูปแบบนี้ในบ้านเราด้วยเหมือนกัน   ส�าหรับวิธีการทาง Logistics ทางร้านท�าถาดวางจานเป็นรูปรถไฟ
               ตามวัฒนธรรมร้านอาหารที่ญี่ปุ่น เมื่อลูกค้านั่งประจ�าที่แล้วต้องมีการเสิร์ฟชา   หัวกระสุน วิ่งบนรางน�า Sushi โดยอัตโนมัติ มาจอดข้างหน้าลูกค้าที่สั่งไป
             แต่เพื่อลดงานดังกล่าวของพนักงาน ร้านก็วาง ถ้วยชา ผงชาเขียว และก๊อกน�้าร้อน   หลังจากนั้นก็จะมีไฟติดขึ้นมา เพื่อบอกให้ทราบว่า ของมาส่งแล้ว
             อยู่ตรงหน้าเพื่อให้ลูกค้าบริการตนเอง พร้อมกับกล่องใส่ขิงดองให้ตักเอง ที่ถือเป็น  ด้วย Sensor ตรวจสอบ ระบบจะรับรู้ว่า ลูกค้าหยิบจานออกไปจากถาด
             สิ่งทานคู่กับ Sushi ด้วย                               แล้ว รถไฟก็จะวิ่งอัตโนมัติกลับไปยังครัว เพื่อรับของมาส่งต่อไป ผมสังเกตว่าที่
               Sushi จะถูกจัดท�าไว้ล่วงหน้า ใส่จานแต่ละสี เพื่อให้ลูกค้าทราบราคาได้            ร้านจะมีรางอยู่ 2 ชั้น เพื่อรองรับปริมาณการส่ง
             อย่างง่ายๆ ด้วยการก�าหนดราคาตามสี หมุนไปรอบๆ บนสายพาน ให้ลูกค้า                ข้อมูลทั้งหมดเมื่ออยู่ในระบบ Digital ท�าให้ลูกค้าตรวจสอบได้ง่ายว่า
             ทุกที่นั่งได้เห็น และเลือกหยิบได้ทันทีตามที่ต้องการ    สั่งรายการอะไรไปแล้ว ราคารวมเป็นเท่าใด ในด้านของผู้บริหารร้าน
               วิธีการท�างานของผู้ปั้น Sushi จะเปลี่ยนไปจากท�าตามค�าสั่งลูกค้า มาเป็น               สามารถวิเคราะห์ และน�าข้อมูลมาใช้ประโยชน์ ในการจัดการร้านได้ทันที
             ดูว่ามีรายการไหนบนสายพานถูกหยิบไป ก็คอยหยิบมาเติม บางร้านมีการท�า  หน้าที่หลักของพนักงานหน้าร้านคนเดียวที่ผมกล่าวไปแล้ว คือ การคิดเงิน
             สัญลักษณ์บนสายพานด้วย เพื่อให้พ่อครัวรู้ได้ทันทีว่า จาน Sushi ประเภทไหน           เมื่อลูกค้าอิ่มแล้วและเดินไปที่เคาน์เตอร์คิดเงินซึ่งอยู่หน้าร้าน รวมถึง
             ได้ถูกหยิบไปแล้ว                                       เชิญลูกค้าเข้านั่ง และเก็บจานที่ลูกค้าทานเสร็จแล้ว
                                                      Sushi Restaurant




                                                                 with Automation System


                                                                    and Digital Technology


                                                                     ร้าน Suhi ระบบ Automation

                                                                                    และเทคโนโลยี Digital





                                                                                           กฤชชัย อนรรฆมณี
                                                                                           Kritchai Anakamanee
                                                                                           Lean and Productivity Consultant / Trainer
                                                                                           kritchai.a@gmail.com



             54 FOOD FOCUS THAILAND  JAN   2020


         54-55_Something_Sushi-Kritchai.indd   54                                                                   20/12/2562 BE   18:15
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59