- page 21

21
APR 2017 FOOD FOCUS THAILAND
SPECIAL
INTERVIEW
คุ
ณภาพ” ระดั
บพรี
เมี
ยม
การผลิ
ตอาหารเพื่
อสุ
ขภาพให้
มี
คุ
ณภาพพรี
เมี
ยมเริ่
มจากการเลื
อกใช้
วั
ตถุ
ดิ
บพรี
เมี
ยมหากเป็
นวั
ตถุ
ดิ
บทางการเกษตรก็
ต้
องมาจากการเพาะปลู
ภายใต้
สภาพแวดล้
อมที่
เหมาะสมได้
รั
บการดู
แลเอาใจใส่
อย่
างดี
ตลอดจน
มี
การควบคุ
มและป้
องกั
นโรคศั
ตรู
พื
ช ซึ่
งเมื่
อเกษตรกรสามารถปฏิ
บั
ติ
ได้
อย่
างสม�่
ำเสมอจะท�
ำให้
เกิ
ดการเรี
ยนรู
และจดจ�
ำคุ
ณลั
กษณะเด่
นที่
ปรากฏ
ของผลผลิ
ต กระทั่
งสามารถควบคุ
มดู
แลผลผลิ
ตให้
มี
ขนาด รสชาติ
กลิ่
น สี
ได้
ตามที่
ต้
องการ และเพาะปลู
กวั
ตถุ
ดิ
บสิ
นค้
าเกษตรที่
มี
คุ
ณภาพพรี
เมี
ยม
ได้
ในที่
สุ
ด ดั
งนั้
น เมื่
อวั
ตถุ
ดิ
บคุ
ณภาพพรี
เมี
ยมถู
กน�
ำไปใช้
ในกระบวนการ
ผลิ
ตอาหารก็
ยิ่
งเป็
นการการั
นตี
ถึ
ง “อาหารพรี
เมี
ยมจากวั
ตถุ
ดิ
บคุ
ณภาพดี
ที่
สุ
ดส�
ำหรั
บผู้
บริ
โภค”
ความปลอดภั
ย” ระดั
บพรี
เมี
ยม
โดยทั่
วไปเกษตรกรและผู
ผลิ
ตอาหารของไทยจะให้
ความส�
ำคั
ญเรื่
อง
ความปลอดภั
ยอาหารตามก�
ำหนดมาตรฐานด้
านความปลอดภั
ยอาหาร
ระหว่
างประเทศ (Codex) โดยมี
ส�
ำนั
กงานมาตรฐานสิ
นค้
าเกษตรและ
อาหารแห่
งชาติ
(มกอช.)และส�
ำนั
กงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
ด�
ำเนิ
นงานร่
วมกั
นในการก�
ำหนดแผนปฏิ
บั
ติ
การควบคุ
มเรื่
องความปลอดภั
ของอาหารซึ่
งมี
แนวทางปฏิ
บั
ติ
อย่
างชั
ดเจน เกษตรกรหรื
อผู
ผลิ
ตสามารถ
น�
ำมาใช้
ได้
ทั
นที
อย่
างไรก็
ตามสิ่
งที่
น่
าสนใจส�
ำหรั
บผู
ผลิ
ตอาหารเพื่
อสุ
ขภาพ
ต่
อไป คื
อจะผลิ
ตอาหารเพื่
อสุ
ขภาพอย่
างไรให้
มี
ความปลอดภั
ยและ
มี
ความพรี
เมี
ยมเป็
นพื้
นฐานของการผลิ
ดั
งนั้
น เพื่
อเป็
นการก้
าวสู
ยุ
คการผลิ
ตอาหารเพื่
อสุ
ขภาพอย่
างยั่
งยื
เกษตรกรและผู
ผลิ
ตจะต้
อง “เปลี่
ยนความคิ
ดจากการผลิ
ตตามมาตรฐาน
ด้
านความปลอดภั
ยอาหารไปสู่
การผลิ
ตอาหารที่
ปลอดภั
ยอย่
างมี
คุ
ณภาพ”
ได้
แก่
การสร้
างเอกลั
กษณ์
ของสิ
นค้
าอาหารเพื
อสุ
ขภาพ การใช้
เทคโนโลยี
การผลิ
ตที่
ทั
นสมั
ย การวางแผนควบคุ
มคุ
ณภาพการผลิ
ตตามมาตรฐาน
การใช้
ระบบตรวจสอบย้
อนกลั
บที่
มี
ประสิ
ทธิ
ภาพ และเพิ่
มเติ
มเรื่
องการ-
ตรวจประเมิ
นความเสี่
ยง โดยวิ
เคราะห์
ตามหลั
กการประเมิ
นความเสี่
ยง
การบริ
หารจั
ดการกั
บความเสี่
ยง และการสื่
อสารความเสี่
ยงตามมาตรฐาน
ที
Codex ก�
ำหนดเนื่
องจากการตรวจประเมิ
นความเสี่
ยงจะสามารถบอก
ได้
ว่
าอาหารหรื
อกระบวนการผลิ
ตอาหารนั้
นมี
ความเสี่
ยงหรื
อไม่
มี
ความเสี่
ยง
ที่
จะเกิ
ดอั
นตรายต่
อผู้
บริ
โภคในระยะสั้
นและระยะยาว
คุ
ณค่
าทางโภชนาการ” ระดั
บพรี
เมี
ยม
คุ
ณค่
าทางโภชนาการจั
ดว่
าเป็
นเรื่
องใหญ่
และมี
ความส�
ำคั
ญมากส�
ำหรั
กลุ
มสิ
นค้
าอาหารเพื่
อสุ
ขภาพ โดยตามพระราชบั
ญญั
ติ
-อาหาร พ.ศ.2522
เรื่
องการแสดงฉลากพรี
เมี
ยมของอาหารเพื่
อสุ
ขภาพนั้
นคื
อจุ
ดเริ่
มต้
นที่
ผู้
ผลิ
อาหารจะต้
องแสดงข้
อมู
ลส่
วนผสมอาหาร และระบุ
ถึ
งคุ
ณค่
าทางโภชนาการ
อั
นน�
ำไปสู
การจั
ดท�
ำฉลากโภชนาการเพื่
อกล่
าวอ้
างปริ
มาณสารอาหารและ
เชื่
อมโยงไปสู
การกล่
าวอ้
างทางสุ
ขภาพเพื่
อสื่
อสารกั
บผู
บริ
โภคให้
รั
บรู
และเข้
าใจ
ในคุ
ณประโยชน์
ของสิ
นค้
าอาหารนั้
นๆต่
อสุ
ขภาพดั
งนั้
น “การน�
ำเสนอข้
อมู
แหล่
งที่
มาของ สารอาหารและแสดงผลการวิ
จั
ยทางวิ
ทยาศาสตร์
ที่
เกี่
ยวข้
อง
จะท�
ำให้
อาหารนั้
นมี
ความพรี
เมี
ยมในด้
านคุ
ณค่
าทางโภชนาการที่
ดี
ต่
อสุ
ขภาพ
มากขึ้
น”
ยกตั
วอย่
าง โดยทั่
วไปอาหารเพื่
อสุ
ขภาพที่
มี
คุ
ณค่
าทางโภชนาการ
จะพิ
จารณาข้
อมู
ลของสารอาหารหลั
กคื
อโปรตี
นไขมั
นคาร์
โบไฮเดรตวิ
ตามิ
และแร่
ธาตุ
โดยค�
ำนึ
งถึ
งปริ
มาณที่
ควรบริ
โภคต่
อวั
นเป็
นส�
ำคั
ญ แต่
หากเป็
อาหารเพื่
อสุ
ขภาพระดั
บพรี
เมี
ยมนอกจากจะรู
ปริ
มาณสารอาหารหลั
กแล้
วยั
รู
ถึ
งคุ
ณภาพของแหล่
งที่
มาสารอาหารหลั
กนั้
นด้
วย เช่
น คาร์
โบไฮเดรตจาก
โฮลวี
ทหรื
อข้
าวไม่
ขั
ดสี
ซึ่
งเป็
นแหล่
งคาร์
โบไฮเดรตที่
ดี
กว่
าแป้
ง เป็
นต้
นอกจากนี้
ในหลายประเทศได้
ให้
ความส�
ำคั
ญกั
บอาหารเพื่
อสุ
ขภาพ
ระดั
บพรี
เมี
ยมโดยเชื่
อมโยงกั
บเรื่
อง การคุ
มครองสิ่
งบ่
งชี้
ทางภู
มิ
ศาสตร์
(Protection of Geographical Indication) หรื
อ GI จากสหภาพยุ
โรป เช่
ข้
าวหอมมะลิ
ทุ
งกุ
ลาร้
องไห้
หรื
อข้
าวหอมมะลิ
ที่
ปลู
กและผลิ
ตใน 5 จั
งหวั
ในพื้
นที่
ทุ
งกุ
ลาร้
องไห้
(สุ
ริ
นทร์
มหาสารคาม บุ
รี
รั
มย์
ยโสธร และร้
อยเอ็
ด)
ซึ่
งกล่
าวอ้
าง ได้
ว่
าเมล็
ดพั
นธุ
ข้
าวมี
คุ
ณภาพสู
ง มี
ลั
กษณะเฉพาะผ่
านการ
เพาะปลู
กในสภาพแวดล้
อมที่
ได้
รั
บการควบคุ
มเป็
นอย่
างดี
ไม่
มี
สารเคมี
หรื
อยาฆ่
าแมลงตกค้
าง ซึ่
งเหล่
านี้
ท�
ำให้
สิ
นค้
ามี
ความเป็
นพรี
เมี
ยมและได้
รั
การยอมรั
บทั่
วโลก
อย่
างไรก็
ตามการที่
ประเทศไทยจะเป็
นแหล่
งผลิ
ตอาหารเพื่
อสุ
ขภาพระดั
พรี
เมี
ยมนั้
นต้
องเกิ
ดจากความร่
วมมื
อกั
นตลอดทั้
งห่
วงโซ่
อาหารตั้
งแต่
ระดั
เกษตรกร ผู
ผลิ
ตทั้
งในระดั
บการแปรรู
ปเบื้
องต้
น อุ
ตสาหกรรมขนาดเล็
ไปจนถึ
งอุ
ตสาหกรรมขนาดใหญ่
โดยร่
วมมื
อกั
นผลิ
ตอาหารที่
มี
คุ
ณภาพดี
มี
ความปลอดภั
ยสู
งสุ
ด และมี
คุ
ณค่
าทางโภชนาการที่
ดี
ต่
อสุ
ขภาพส�
ำหรั
ผู้
บริ
โภคในประเทศและทั่
วโลกได้
อย่
างยั่
งยื
1...,11,12,13,14,15,16,17,18,19,20 22,23,24,25,26,27,28,29,30,31,...80
Powered by FlippingBook