Page 42 - FoodFocusThailand No.142_January 2018
P. 42
STRONG QC &
STRONG QC & QAQA
ธวัฒน์ชัย ข�าวิจิตราภรณ์
Tawatchai Khamvijitraporn
Consultant
MT Operation Co., Ltd.
mtoperation@gmail.com
Food Defense
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องในธุรกิจอาหารเกี่ยวกับการป้องกัน
การก่อการร้ายในธุรกิจอาหารควรครอบคลุมทุกภาคส่วนของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องตลอดห่วงโซ่อาหาร
ของมนุษย์ การผลิตอาหารสัตว์ รวมถึงการผลิตบรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุอาหาร โดยมีแนวทางที่ส�าคัญ
ก็คือการท�าความเข้าใจและการให้ความส�าคัญกับประเด็นปัญหาการก่อการร้ายในธุรกิจอาหาร
และการพิจารณาถึงผลกระทบและมูลเหตุส�าคัญของการเกิดการก่อการร้าย ตลอดจนร่วมกันพิจารณา
หาแนวทางการป้องกัน หรือแนวทางการแก้ไข รวมถึงมาตรการตอบโต้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์
ที่เกิดขึ้นจริง
การป้องกันการก่อการร้ายในธุรกิจอาหารของประเทศไทย โดยกระทรวง ป้องกันได้ โดยมีแนวทางการด�าเนินการดังต่อไปนี้ดัง ต่อไปนี้
สาธารณสุข ได้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหารขึ้นในปีพุทธศักราช
2552 โดยความร่วมมือกับประเทศสหรัฐอเมริกา และได้ก�าหนดแผนการด�าเนินงาน แนวทางการด�าเนินการเพื่อควบคุมสถานการณ์การก่อการร้าย
ไว้แล้ว แต่ส�าหรับการเตรียมพร้อมของผู้ประกอบการด้านธุรกิจอาหารในทุกภาคส่วน ในธุรกิจอาหาร
จ�าเป็นต้องเตรียมความพร้อมในการรับมือถึงผลกระทบซึ่งเกิดจากการก่อการร้าย การด�าเนินการในระยะที่ 1 ผู้บริหารทุกระดับขององค์กรจ�าเป็นต้องท�าความ-
ในธุรกิจอาหารและเตรียมรับมือเพื่อก�าหนดแนวทางการตอบโต้และการเฝ้าระวัง เข้าใจถึงผลกระทบของการก่อการร้ายในธุรกิจอาหาร และท�าการตรวจสอบ
เพื่อป้องกันการเกิดสถานการณ์ที่ต้องสงสัยอันสุ่มเสี่ยงต่อการก่อการร้ายในธุรกิจ สภาพแวดล้อมของการท�างานเพื่อท�าการประเมินสถานการณ์ที่อาจเข้าข่ายเป็น
อาหาร ซึ่งในประเด็นนี้ระบบการควบคุมและป้องกันการก่อการร้ายในธุรกิจอาหาร ประเด็นการก่อการร้ายในธุรกิจอาหารและน�ามาสืบสวนหาสาเหตุและแรงจูงใจ
จะมีความแตกต่างจากระบบการจัดการด้านความปลอดภัยในอาหาร เช่น ระบบ ของการกระท�าดังกล่าวของกลุ่มบุคคลที่ต้องสงสัยว่ามีพฤติกรรมสุ่มเสี่ยงต่อ
การวิเคราะห์อันตรายและการก�าหนดจุดควบคุมวิกฤติ (HACCP) และเพื่อให้เรารู้จัก การก่อการร้ายในธุรกิจอาหาร การด�าเนินการในขั้นตอนนี้อาจจ�าเป็นต้องอาศัย
และท�าความเข้าใจถึงประเด็นปัญหาด้านการก่อการร้ายในธุรกิจอาหาร จึงควร ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในการประเมินสถานการณ์ของแต่ละองค์กรเพื่อน�ามา
ท�าความเข้าใจถึงมูลเหตุและผลกระทบของการก่อการร้ายที่อาจเกิดขึ้นในธุรกิจ จัดท�าเป็นฐานข้อมูลที่ส�าคัญในการจัดท�าระบบต่อไป
อาหารกันก่อน การด�าเนินการในระยะที่ 2 จากผลการด�าเนินการในระยะที่หนึ่ง องค์กร
การพิจารณาถึงสถานการณ์ในปัจจุบันที่สุ่มเสี่ยงต่อการก่อการร้ายในธุรกิจ ควรพิจารณาแต่งตั้งคณะท�างานโดยคัดเลือกตัวแทนจากผู้บริหารและ
อาหารที่อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา เช่น การจงใจละเมิดมาตรฐานการท�างาน อาจจ�าเป็นต้องมีผู้เชี่ยวชาญในการวิเคราะห์สถานการณ์การก่อการร้าย
การจงใจละเลยหรือการจงใจเพิกเฉยต่อการปฏิบัติตามกฎระเบียบการท�างาน โดยคณะท�างานนี้มีหน้าที่ในการพิจารณาข้อมูลจากการส�ารวจข้อมูล และ
ที่เกี่ยวข้องอย่างเข้มงวด หรือแม้แต่ความไม่พร้อมของสภาพอาคารสถานที่ การพิจารณาหาความเสี่ยงจากการกระท�าอันต้องสงสัยที่อาจเกิดขึ้นได้ในแต่ละ
ที่ไม่สามารถท�าการคัดแยกและตรวจสอบเพื่อคัดกรองบุคคลในการเข้าถึงสถานที่ ขั้นตอนของกระบวนการท�างานต่างๆ ในองค์กรเพื่อประเมินถึงบริเวณพื้นที่เสี่ยง
ท�างาน รวมถึงความไม่พร้อมต่อการจัดการกับสถานการณ์การก่อการร้ายในธุรกิจ หรือการตรวจพบกิจการอันต้องสงสัยที่อาจเกิดการก่อการร้ายขึ้นได้ โดยการ-
อาหาร ดังนั้น การส�ารวจตรวจสอบเพื่อประเมินความเหมาะสมของมาตรการควบคุม ด�าเนินการต่างๆ นี้ควรท�ากิจกรรมเฉพาะกลุ่มบุคคลที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น
และป้องกันที่องค์กรจ�าเป็นต้องมีการจัดท�าขึ้นเพื่อควบคุมสถานการณ์การก่อ การด�าเนินการในระยะที่ 3 การพิจารณาก�าหนดมาตรการควบคุมหรือ
การร้ายในธุรกิจอาหารได้อย่างเหมาะสม สามารถพิจารณามาตรการควบคุมและ แนวทางการป้องกันซึ่งสามารถพิจารณาแนวทางการป้องกันได้ ดังนี้
40 FOOD FOCUS THAILAND JAN 2018