Page 43 - FoodFocusThailand No.142_January 2018
P. 43
STRONG QC & QA
1. การประเมินความเหมาะสมของโครงสร้างอาคารสถานที่ ความเหมาะสม 7. การตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารจากหน่วยงานราชการ แนวทาง
ของโครงสร้างอาคารและการจัดสร้างแนวรั้วควบคุมเส้นทางเข้าออกของบุคคล การท�างานโดยวิธีนี้ถือเป็นสิ่งส�าคัญที่ใช้ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของกลุ่มบุคคล
มีความส�าคัญมาก เนื่องจากจะส่งผลต่อการพิจารณามาตรการป้องกันการ ที่เข้าสู่พื้นที่ ในหลายองค์กรที่มีการตรวจสอบเอกสารจะพบเหตุการณ์ที่ว่าเอกสาร
เข้าถึงสถานที่และการควบคุมการตรวจสอบบุคคลที่เข้าออกสถานที่ได้อย่าง ที่ทางราชการออกให้นั้นมักเป็นเอกสารปลอมหรือเป็นเอกสารที่หมดอายุจึงต้อง
เหมาะสม ดังนั้น หากองค์กรใดมีการออกแบบโครงสร้างได้ดี มีการพิจารณา มีการเฝ้าระวังมาตรการตรวจสอบให้มีความถูกต้องและความเข้มงวด
เส้นทางเข้าออกสถานที่และมีมาตรการควบคุมไว้ก่อนแล้วก็จะมีประโยชน์ต่อ 8. การตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับการถูกโจมตีโดยผู้มีเจตนาไม่ดีต่อองค์กร
ประสิทธิผลของการใช้มาตรการตรวจสอบการเข้าออกพื้นที่มากยิ่งขึ้น การด�าเนินการจ�าเป็นต้องอาศัยกลุ่มคนที่มีความเข้าใจและมีความเชี่ยวชาญ
การตรวจสอบเส้นทางการเข้าถึงสถานที่ โดยเฉพาะบริเวณประตู เส้นทาง ถึงการสืบสวนสอบสวนเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจเข้าข่ายเป็นการก่อการร้ายที่เกิดขึ้น
เข้า-ออกจ�าเป็นต้องได้รับการตรวจสอบความเหมาะสมของอุปกรณ์การปิดกั้น แล้วจ�าเป็นต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อพิจารณา
ระบบการควบคุม การใช้กุญแจ รวมถึงการติดตั้งกล้องวงจรปิดเพื่อใช้ใน แนวทางและมาตรการตอบโต้ที่เหมาะสม
การเฝ้าระวัง และใช้ในการตรวจสอบพฤติกรรมกลุ่มบุคคลและใช้เป็นข้อมูล 9. การก�าหนดบริเวณการจอดรถที่เป็นสัดส่วน สามารถตรวจสอบได้และ
ส�าคัญในการสืบสวนหากเกิดเหตุการณ์กรณีที่ต้องสงสัย รวมถึงการจัดหาระบบ การตรวจสอบยานพาหนะที่มีการเข้าออกสถานที่ ผลของการด�าเนินการพิจารณา
ป้องกันการเข้าถึงสถานที่โดยไม่ได้รับอนุญาต ซึ่งในปัจจุบันมีหลายองค์กรที่มี ก�าหนดมาตรการควบคุมหรือแนวทางการป้องกันในระยะนี้จ�าเป็นต้องมีการทบทวน
การเลือกใช้หน่วยงานภายนอกมาเป็นผู้ตรวจสอบและคัดกรองบุคคลภายนอก ความเหมาะสมของมาตรการต่างๆ ที่องค์กรนั้นมีการด�าเนินการอยู่แล้ว หรือ
มาท�าหน้าที่ตรวจสอบเพื่อยืนยันข้อมูลบุคคลก่อนเข้าถึงสถานที่ และในกรณีที่ การจัดสรรงบประมาณตามความจ�าเป็นขององค์กรเพื่อปรับปรุงแก้ไขในจุดต่างๆ ที่
มีความจ�าเป็นอาจมีการตรวจสอบและการคัดกรองประวัติของบุคคลผู้เข้า-ออก คณะท�างาน และผู้บริหารได้เห็นว่าเป็นจุดอ่อนที่สุ่มเสี่ยงต่อการก่อการร้าย
สถานที่ก่อนพิจารณาอนุญาตให้ผ่านเข้าออกสถานที่ การด�าเนินการในระยะที่ 4 เมื่อคณะท�างานและผู้เชี่ยวชาญได้ร่วมกันพิจารณา
2. การตรวจสอบประวัติอาชญากรรมของกลุ่มบุคคลที่ต้องสงสัย การ- ถึงมาตรฐานควบคุมที่เหมาะสมแล้วจ�าเป็นต้องสื่อสารมาตรฐานควบคุมต่างๆ
ตรวจสอบฐานข้อมูลของบุคคลที่องค์กรให้ความสนใจ เช่น พนักงานผู้รับเหมา ให้กับผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบและท�าความเข้าใจถึงหลักการและ
หรือบุคคลอื่นที่จ�าเป็นต้องควบคุม ให้ส่วนงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาตรวจสอบ เหตุผลของการด�าเนินงานตามมาตรการที่ได้ก�าหนดไว้เป็นมาตรฐาน ทั้งนี้
ประวัติอาชญากรรม โดยส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ- เพื่อเป็นการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่ต้องสงสัยที่เกี่ยวข้องกับการละเมิด การละเว้น
ประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นภายหลังจากการให้กลุ่มบุคคลดังกล่าวเข้าสู่ รวมถึงการไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับ ซึ่งอาจจะส่งผลให้เกิดความเสี่ยงด้าน
พื้นที่ควบคุมขององค์กร การก่อการร้ายในธุรกิจอาหาร
3. การตรวจสอบวัตถุหรือสิ่งของที่ต้องสงสัยที่ตรวจพบในองค์กร วัสดุที่มี การด�าเนินการในระยะที่ 5 คณะท�างานและผู้เชี่ยวชาญได้ก�าหนดแนวทาง
การน�าเข้าสู่พื้นที่ในรูปแบบต่างๆ อาทิเช่นพัสดุไปรษณีย์ที่มีการน�าเข้าสู่พื้นที่ การเฝ้าระวังตรวจสอบถึงการบังคับใช้มาตรการควบคุมต่างๆ และจ�าเป็นต้อง
ควบคุมจ�าเป็นต้องได้รับการยืนยันถึงความเหมาะสมขออนุญาตให้มีการน�าเข้า มีการก�าหนดมาตรการการเฝ้าระวังมาตรการการตรวจสอบมาตรฐานการแก้ไข และ
สู่พื้นที่ได้ อาจรวมถึงการซักซ้อมมาตรการตอบโต้กรณีเกิดเหตุที่ต้องสงสัย โดยกิจกรรม
4. การควบคุมการเข้าถึงฐานข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ที่องค์กรมีการ- ทั้งหมดที่เกิดขึ้นในขั้นตอนนี้จ�าเป็นต้องใช้กลุ่มบุคคลที่มีความรู้ความเข้าใจ
จัดเก็บไว้ เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าถึงฐานข้อมูลและบุคคลที่ไม่ได้รับอนุญาต โดยเฉพาะเพื่อท�าให้สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ที่เสี่ยงต่อการเกิดพฤติกรรม
จึงจ�าเป็นต้องมีการควบคุมการเข้าถึงฐานข้อมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ต้องสงสัยได้อย่างเหมาะสมและใกล้เคียงกับสถานการณ์จริง
5. การตรวจสอบความเหมาะสมของตารางการท�างานของพนักงาน จะท�าให้ การด�าเนินการในระยะที่ 6 คณะท�างานและผู้เชี่ยวชาญจะมีการน�าเสนอ
ทราบถึงสถานะของการปฏิบัติงานของพนักงานในแต่ละบริเวณรวมถึง ผลการด�าเนินงานต่อผู้บริหารสูงสุดเพื่อพิจารณาถึงผลการด�าเนินงานที่เกิดขึ้น
การก�าหนดมาตรการควบคุมที่เหมาะสม การจัดตารางการท�างานของกลุ่มบุคคล และด�าเนินการพิจารณาความเหมาะสมของมาตรการควบคุมต่างๆ ที่องค์กร
แต่ละกลุ่ม มีการประยุกต์ใช้
6. การตรวจสอบของใช้ส่วนบุคคลที่มีการน�าเข้าออกในสถานที่ท�างาน จากที่กล่าวมาทั้งหมดจะพบว่าประเด็นเรื่องการก่อการร้ายในธุรกิจอาหารเป็น
จัดเป็นมาตรการควบคุมในล�าดับแรกที่มีการบังคับใช้ในแต่ละองค์กรเพื่อ เรื่องส�าคัญที่มีผลกระทบในวงกว้างและมีผู้เกี่ยวข้องและต้องให้ความสนใจใน
ตรวจสอบและควบคุมการน�าสิ่งต้องห้ามเข้าสู่พื้นที่ควบคุม ประเด็นนี้อยู่ในทุกภาคส่วนงานที่เกี่ยวข้องกับองค์กร และสามารถกล่าวได้ว่า
แนวทางการจัดการด้านการก่อการร้ายในธุรกิจอาหาร รวมถึงมุมมองของผู้เขียนเอง
ก็ยังเล็งเห็นถึงความจ�าเป็นของผู้ประกอบการในธุรกิจอาหารที่ต้องให้ความส�าคัญ
กับประเด็นดังกล่าวนี้ไม่น้อยไปกว่าการจัดการด้านคุณภาพของอาหาร การจัดการ
ด้านความปลอดภัยในอาหาร รวมถึงประเด็นส�าคัญที่มีการกล่าวถึงในปัจจุบัน เช่น
อาหารปลอม (Food frauds) ซึ่งประเด็นดังกล่าวนี้จะส่งผลต่อธุรกิจอาหารทั้งสิ้น
เอกสารอ้างอิง/Reference
https://th.m.wikipedi;.org/wiki/การก่อการร้าย
ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร website : foodsafetytalent.net
JAN 2018 FOOD FOCUS THAILAND 41