Page 52 - FoodFocusThailand No.144_March 2018
P. 52
ยุวาณี อุ้ยนอง
Yuwanee Ouinong
Economic Intelligence Center (EIC)
yuwanee.ouinong@scb.co.th
SPECIAL INTERVIEWNTERVIEW Siam Commercial Bank Public Company Limited
SPECIAL I
กองบรรณาธิการ
Editorial Team
ศูนย์นวัตกรรม Food Focus Thailand Magazine
editor@foodfocusthailand.com
Global Innovation Incubator (Gii)
สร้างความแตกต่างด้วยนวัตกรรม
นับย้อนกลับไปเมื่อ 40 ปีที่แล้ว บริษัทแห่งหนึ่งได้เติบโตจากจุดเริ่มต้นเล็กๆ และในวันนี้บริษัท
แห่งนี้ในชื่อ “ไทยยูเนี่ยน” ได้รับการยอมรับและไว้วางใจจากผู้บริโภค จนก้าวขึ้นเป็นหนึ่งใน
บริษัทผู้ผลิตอาหารทะเลระดับโลกด้วยพนักงานกว่า 49,000 คน ที่พร้อมคิดค้น พัฒนา
เทคโนโลยีและกระบวนการผลิต เพื่อสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์อาหารทะเลที่มีคุณภาพและอุดม
ไปด้วยโปรตีน รวมทั้งความมุ่งมั่นในเรื่องของความยั่งยืนและนวัตกรรม
บทสัมภาษณ์ ดร.ธัญญวัฒน์ เกษมสุวรรณ ผู้อ�านวยการกลุ่มด้านนวัตกรรม ไทยยูเนี่ยน
“ที่ศูนย์นวัตกรรม เราเคารพและเปิดรับความแตกต่างได้ทุกอย่าง
ศูนย์นวัตกรรมของเราขับเคลื่อนด้วยนักวิทยาศาสตร์หลากหลายช่วงวัย มากกว่า
100 คน 11 เชื้อชาติ เราจึงมีความหลากหลายทั้งทางวัฒนธรรมและแนวความคิด
ด้วยเป้าหมายที่ชัดเจนในการให้ความส�าคัญกับนวัตกรรมเพื่อสร้างอนาคต การออกแบบตกแต่งภายในตัวอาคารเน้นความโปร่ง นักวิจัยสามารถมองเห็น
ของธุรกิจ ทางบริษัท ไทยยูเนี่ยนกรุ๊ป จ�ากัด (มหาชน) จึงได้จัดตั้งศูนย์นวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ที่ส่งขายไปทั่วโลก เพราะเรามีเป้าหมายว่าความแตกต่างเหล่านี้
(Global Innovation Incubator หรือ Gii) ขึ้นในปี 2558 โดยเป็นความร่วมมือระหว่าง จะสร้างให้เกิดแนวความคิดใหม่ๆ และนักวิจัยจะต้องสามารถเชื่อมโยงงานวิจัย
ไทยยูเนี่ยน และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมตอบโจทย์ กับผลิตภัณฑ์ให้ได้” ดร.ธัญญวัฒน์ กล่าว
ความต้องการของตลาดและผู้บริโภค ด้วยงบลงทุนกว่า 900 ล้านบาท จนถึงปัจจุบันนี้
รู้ลึก…รู้จริง…ในสิ่งที่ท�า
ศูนย์กลางด้านการวิจัยและพัฒนา “เราเข้าใจปลาตั้งแต่ระดับ DNA” ดร.ธัญญวัฒน์ กล่าว และเล่าถึงขอบเขตของ
“หากเป็นงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาสูตร การวิจัยค้นคว้าของศูนย์นวัตกรรม โดยแบ่งเป็น 8 ด้าน ได้แก่
(Cuisine development) หรืองานวิจัยและพัฒนาที่มีองค์กรอื่นๆ ท�าอยู่แล้ว นั่นไม่ใช่ 1. การศึกษาพื้นฐาน: เป็นความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับปลาทูน่า ซึ่งรวมถึง
เป้าหมายของ Gii” ดร.ธัญญวัฒน์ เกษมสุวรรณ ผู้อ�านวยการกลุ่มด้านนวัตกรรมของ องค์ประกอบด้านโภชนาการ การเปลี่ยนแปลงทางเคมีชีวภาพในขณะการเก็บ-
ไทยยูเนี่ยน กล่าวเริ่มต้น พร้อมขยายความว่า ไทยยูเนี่ยนมีหน่วยงานวิจัยและพัฒนา รักษา กระบวนการแปรรูป รวมทั้งโครงสร้างทางเคมีฟิสิกส์ของกล้ามเนื้อปลา
ผลิตภัณฑ์ (R&D) อยู่แล้วทั้งในโรงงานเองและหน่วยงานด้าน R&D ในประเทศ ซึ่งจะท�าให้เข้าใจถึงคุณค่าทางโภชนาการของปลาทูน่า และที่ส�าคัญไปกว่านั้น
ฝรั่งเศส โดยเน้นไปในแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาสูตร แต่ด้วยวัตถุประสงค์ที่จะเป็น คือ วิธีที่จะรักษาคุณประโยชน์เชิงโภชนาการของปลาทูน่าให้คงไว้ตลอด
ศูนย์กลางการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษัทในเครือไทยยูเนี่ยนทั่วโลก รวมทั้งเป็น กระบวนการตั้งแต่จับปลามาจนกระทั่งถึงมือผู้บริโภค
ศูนย์กลางในการคิดค้นนวัตกรรมเพื่อมาพัฒนาปรับปรุงกระบวนการผลิตและหมวดหมู่ 2. สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี: เน้นการหาแนวทางเพื่อเพิ่มคุณค่าทาง
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ โดยเฉพาะวัตถุดิบปลาทูน่าและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับอาหารทะเล โภชนาการของอาหารทะเล รวมทั้งค้นหาเทคโนโลยีที่จะช่วยสกัดสารอาหาร
เพื่อสร้างคุณประโยชน์สูงสุดต่อผู้บริโภค ทั้งยังท�าหน้าที่เชื่อมโยงทางวิทยาการ ที่เป็นประโยชน์ อาทิ โปรตีน และไขมันต่างๆ ให้ออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โภชนาการสมัยใหม่เข้ากับนวัตกรรมการผลิต เพื่อสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนอง เพื่อสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์อาหารและส่วนประกอบของอาหารเพื่อสุขภาพ
ต่อความต้องการของตลาดและอุตสาหกรรมอาหารโลก ทางไทยยูเนี่ยนจึงได้จัดตั้ง ที่มีคุณค่าและมีความสมดุลทางโภชนาการ
ศูนย์นวัตกรรมขึ้นบนพื้นที่กว่า 1,200 ตารางเมตร ณ ตึกเอ็น (N) ชั้น 6 ภายใน 3. การแปรรูป: น�าเทคโนโลยีที่ทันสมัยและกลไกการแก้ปัญหาการผลิต
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นับเป็นศูนย์วิจัยและพัฒนาที่มีความทันสมัย ด้วยเทคนิคทางวิศวกรรม อาทิ เทคโนโลยีเมมเบรน โครมาโทกราฟี และการห่อหุ้ม
ที่สุดแห่งแรกของวงการอุตสาหกรรมอาหารทะเล ระดับนาโนมาประยุกต์ใช้ เพื่อให้สามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง อีกทั้ง
“ไทยยูเนี่ยนได้ลงนามข้อตกลงความร่วมมือกับคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มีกระบวนการแปรรูปที่ได้มาตรฐานระดับสูงและมีความยั่งยืน
มหิดล ในการสร้างศูนย์นวัตกรรม โดยได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยชั้นน�าอีก 6 แห่ง 4. บรรจุภัณฑ์: คิดค้นสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์ที่ก้าวข้ามความท้าทาย โดยมี
ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี นวัตกรรมที่ผ่านการวิจัยเชิงพื้นฐานในด้านวัสดุศาสตร์ เน้นในเรื่องความยั่งยืน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี การออกแบบใหม่ที่น่าสนใจและอ�านวยความสะดวกให้กับผู้บริโภค อาทิ
สุรนารี และมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ตลอดจนหน่วยงานวิจัยและพัฒนา การศึกษาผลิตภัณฑ์วัสดุชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุย่อยสลายได้ทางชีวภาพ และ
ในต่างประเทศอีก 3 แห่ง เพื่อผลักดันโครงการวิจัยต่างๆ” วิศวกรรมการเคลือบผิว เพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะกับการใช้งาน
52 FOOD FOCUS THAILAND MAR 2018